【糖尿病患疫情期間照護上常見問題與應變策略建議】
▀ 在COVID-19和糖尿病方面:
❓問:糖尿病患者是否更容易感染COVID-19?
✅答:否。目前沒有足夠的證據顯示糖尿病患者比一般人更容易感染COVID-19。糖尿病患者面臨的問題是:一旦感染COVID-19出現較嚴重併發症的風險可能較高。此外,患者本身的疾病越多(如:糖尿病伴隨心臟病等),感染COVID-19後產生嚴重併發症的風險越高;年老的糖尿病患者感染COVID-19也將面臨較高的併發症風險。
❓問:糖尿病患者感染COVID-19後出現嚴重併發症的機率是否更高?
✅答:是。糖尿病患者感染COVID-19後,出現嚴重的併發症的機率更高。一般來說,糖尿病患者感染任何病毒都更有可能出現較嚴重的症狀和併發症。
若您的糖尿病有妥善控制,一旦感染COVID-19演變成重症的風險可能會下降。然而,除了糖尿病之外,若同時患有心臟病或其他慢性疾病的患者,可能會因感染COVID-19進展成重症的風險增加,因為多重疾病問題會使您的身體更難對抗病毒。
病毒感染亦會增加糖尿病患者發炎或腹脹的機率。這可能是因血糖過高引起,也可能因身體發炎所導致的嚴重併發症。
❓問:身體發出的緊急訊號有哪些?
✅答:在糖尿病患者身上出現的身體警訊包括:
• 呼吸困難或呼吸急促
• 持續性的胸痛或胸前壓迫感
• 新發生的意識混亂
• 無法醒來或保持清醒
• 嘴唇發紫或臉色發青
▀ 工作方面:
❓問:我患有糖尿病。在疫情期間上班安全嗎?
✅答:安全與否取決於您的健康狀況和工作型態等諸多因素。包含:從事的工作類型、是否能夠藉由佩戴個人防護裝備、在有機玻璃防護隔板後面工作、可在戶外工作或可以居家辦公等方式來降低暴露風險。美國糖尿病協會 (American Diabetes Association) 建議您諮詢您糖尿病的醫療照護團隊以作出決定。
❓問:居家辦公無法完成我的工作。我還有其他選擇嗎?
✅答:即使居家辦公不適用於您的工作,您的雇主於疫情期間應針對您的工作性質內容做適度的調整,建議您詢問您的雇主是否工作方面,可做彈性調整的可能。
▀ 疫情期間照護須知和準備:
• 收集您的醫生、醫療照護團隊、藥局與保險員的電話號碼。
• 條列一份常規藥物和使用劑量清單(包括維生素和補充品)。
• 準備簡單的含糖食物,如:蘇打水、蜂蜜、果醬、果凍、糖果或冰棒等,以幫助您在低血糖及嚴重到無法進食的情況下維持血糖。
• 如果宣布進入疫情警戒狀態,請額外補充您的處方藥品。若您無法前往領取,請了解是否有其他人可以協助配送藥品。
• 準備至少足夠使用14天的胰島素,以防您生病或無法取得的情形發生。
• 準備額外的衛生用品,例如:消毒酒精和肥皂來清潔雙手。
• 儲存足夠的家用品和雜貨,以便當您需要隔離時能夠待在家裡至少14天。
▀ 醫療照護方面:
疫情期間請與您的醫生及醫療照護團隊準備好以下事項:
• 何時該聯絡您的醫生,例如:酮體(ketones)濃度過高、食物攝入量變化、藥物調整等?
• 到醫療院所檢驗血糖的頻率?
• 何時需要自行測量和監控酮體濃度?
• 是否需要準備額外的藥品,以因應感冒或其他感染的情況?
• 生病時,是否需要調整目前使用的糖尿病藥物?
📖 資料來源:
• 美國糖尿病協會 (American Diabetes Association):
https://www.diabetes.org/coronavirus-covid-19
• 美國疾病控制與預防中心(CDC):https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/need-extra-precautions/people-with-medical-conditions.html
( 林口長庚紀念醫院PGY何佳樺醫師、林口長庚紀念醫院兒童內科部姚宗杰教授、財團法人國家衛生研究院群體健康科學研究所蔡慧如研究員摘要整理)
📖 更多 Covid-19 照護指引 相關文章,詳:
(國家衛生研究院-論壇)
https://forum.nhri.edu.tw/covid19/category/guideline/
衛生福利部
國民健康署
疾病管制署 - 1922防疫達人
林口長庚紀念醫院
財團法人國家衛生研究院
國家衛生研究院-論壇
「american diabetes association」的推薦目錄:
- 關於american diabetes association 在 國家衛生研究院-論壇 Facebook 的最佳解答
- 關於american diabetes association 在 我每天都吃綜合維他命,那你呢? Facebook 的最佳解答
- 關於american diabetes association 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳解答
- 關於american diabetes association 在 American Diabetes Association - 首頁| Facebook 的評價
- 關於american diabetes association 在 American Diabetes Association - YouTube 的評價
- 關於american diabetes association 在 American Diabetes Association (amdiabetesassn) - Profile 的評價
american diabetes association 在 我每天都吃綜合維他命,那你呢? Facebook 的最佳解答
【健康的三酸甘油脂支持】
【三酸甘油脂是在血液中供應身體使用能量的脂肪】。這些脂肪含量過高時,問題就來了。高的三酸甘油脂指數程度會增加心臟疾病的風險,而且會加重【高膽固醇】,【高血壓】,【糖尿病】的不良影響。【 ω-3脂肪酸】已被證明能促進三酸甘油脂平衡的健康。研究報告已經如此引人矚目,在2011年,美國心臟協會發表了一份聲明,針對那些【三酸甘油脂偏高邊緣或較高】的人,建議【每日EPA和DHA使用攝取】 。
【改善血管內皮的功能】
從你的心臟到最小的毛細血管,你的整個循環系統中襯墊著內皮細胞。當血液流經你的身體體內時,這些細胞可減少摩擦,使血液事半功倍地進一步促進流通 。如果這些細胞不正常,它就會造成你的心臟不必要的過勞損傷。【 EPA和DHA ω-3脂肪酸】已被證明有助於改善血管內皮功能,可降低"靜息"脈搏率。
【用天然方法支持健康的發炎平衡】
"發炎"是廣義的術語,就是對身體的免疫力反應的有害刺激(如病原體或刺激物)或物理性的損而傷害。而初期時,它是有益的(可以讓細胞修補),但【發炎症會導致更多的發炎症】,而且會造成【身體發炎持續不斷地發生】。 這種類型的超級發炎症是整個人體主體的健康問題,包括【心臟疾病】的問題。越來越多的研究表示, 【ω-3脂肪酸】有助於身體減少發炎症。美國俄亥俄州立大學(Ohio State University)精神病學和心理學教授及大腦,行為與免疫研究報告的總編Jan Kiecolt-Glaser 說“ 【ω- 3脂肪酸的保護既可以使發炎症提升不上去,並有療效作用地幫助發炎症降下去】。
Healthy triglyceride support.
Triglycerides are fats in the blood the body uses for energy. The problem comes when these fat levels are too high. High triglyceride levels increase your risk of heart disease, and can compound the bad effects of high cholesterol, high blood pressure, and diabetes. Omega-3s have been shown to promote healthy triglyceride levels. Research studies have been so compelling, that in 2011 the American Heart Association issued a statement recommending daily EPA and DHA consumption for those with borderline or high fasting triglyceride levels.
Improved endothelial function.
From your heart to the smallest capillary, your entire circulatory system is lined with endothelial cells. These cells reduce friction as blood flows through your body, allowing blood to be pumped further with less effort. If these cells are not functioning properly, it can put unnecessary strain on your heart. EPA and DHA omega-3s have been shown to help improve endothelial function and reduce resting pulse rate.
Natural support for healthy inflammation levels.
Inflammation is the broad term for the body’s immune response to harmful stimuli (such as pathogens or irritants) or physical damage damage. Initially, it is beneficial, but inflammation can lead to more inflammation, and become selfperpetuating. Hyper-inflammation of this type is at the root of a whole host of health problems, including heart disease. More and more studies have shown that omega-3s aid the body by helping to reduce inflammation. “Omega-3 fatty acids may be both protective so that inflammation doesn’t go up, as well as therapeutic by helping inflammation go down,” said Jan Kiecolt-Glaser, professor of psychiatry and psychology at Ohio State University and lead author of a study printed in Brain, Behavior and Immunity.
----------------------------------------------
*Translated by A.Su, Leadership in Action Delivers Wellness and Helps You Live Your Best Life.
#helpingyouliveyourbestlife
#residualincome #richdadpoordad
#wellness #WellnessInstructors
#帶領年輕人無本依附創業
#人終究需要的是持續收入
#富爸爸俱樂部 #富爸爸基因
#領導菁英傳遞富足👣
#富足有道理 #舒適真言錄
#富足導師育成中心
american diabetes association 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳解答
"อย่าเพิ่งตื่นตกใจ กับข่าวที่บอกว่า กินไข่แล้วจะเพิ่มความเสี่ยงของโรคเบาหวาน"
วันนี้มีข่าวที่บางคนอาจจะตกใจ ที่พูดถึงงานวิจัย ที่ว่า "กินไข่เพียงวันละฟอง จะเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคเบาหวานขึ้น 60 เปอร์เซ็นต์"
อย่าเพิ่งกังวลกัน จนเลิกกินไข่นะ !! มันยังเป็นงานวิจัยที่ยังไม่เป็นที่เห็นพ้องกันในวงการแพทย์ และต้องการคำอธิบายมากขึ้นกว่านี้นะครับ
1. คณะนักวิจัยจากประเทศออสเตรเลีย ได้ศึกษาตัวอย่างของคนจีนที่เป็นผู้ใหญ่แล้วจำนวน 8,545 คน โดยดูผลการสำรวจเรื่องโภชนาการและสุขภาพ ระหว่างปี ค.ศ 1991 ถึงปี 2009 แล้วพบความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างการบริโภคไข่เป็นปริมาณมากเป็นประจำทุกวัน (ไม่ว่าจะไข่ต้ม ไข่ดาว ไข่เจียว ฯลฯ) กับระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
2. ผลการวิจัยนี้ สร้างความแปลกใจให้กับวงการวิชาการด้านโรคเบาหวาน เนื่องจากไข่เป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง ได้รับการส่งเสริมว่าเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ และงานวิจัยก่อนหน้านี้ ก็บอกว่า การกินไข่จะช่วยลดการเป็นเบาหวานด้วยซ้ำ
3. โรคเบาหวาน เป็นสภาพของโรคที่ระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือดสูงผิดปกติ ผู้ป่วยโรคเบาหวานส่วนใหญ่จะเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 (Type 2) ซึ่งร่างกายไม่สามารถสร้างสารอินซูลิน (insulin) ได้เพียงพอต่อการสลายน้ำตาลกลูโคส ... ซึ่งลักษณะของอาหารที่เราบริโภคแต่ละวัน ก็เป็นหนึ่งในปัจจัยที่มีผลต่อความเสี่ยง ในการเป็นโรคเบาหวานชนิดนี้
4. คณะผู้วิจัยของมหาวิทยาลัยในออสเตรเลีย จึงสนใจที่จะศึกษาว่า ผู้คนที่อยู่ในประเทศจีน ที่เปลี่ยนลักษณะของอาหาร จากที่เมื่อก่อนเคยกินแบบเน้นธัญพืชและผัก มาเป็นอาหารที่ผ่านการแปรรูปแล้ว ซึ่งมีเนื้อและไข่เป็นส่วนประกอบด้วย .. โดยคนจีนนั้น ได้เพิ่มอัตราการบริโภคไข่ขึ้นไปเกือบเท่าตัว ตั้งแต่ประมาณ 16 กรัมต่อวันในปี ค.ศ 1991 มาเป็น 31 กรัมในปี 2009
5. การวิจัยได้เปรียบเทียบระหว่างพฤติกรรมการบริโภคไข่ กับระดับน้ำตาลในเลือด ที่ตรวจวัดในปี 2009 แล้วได้ข้อสรุปว่า การบริโภคไข่เป็นระยะเวลายาวนานในปริมาณมากกว่า 38 กรัมต่อวัน จะเพิ่มความเสี่ยงในกลุ่มคนจีนให้เป็นเบาหวานมากขึ้น 25 เปอร์เซ็นต์ .. และถ้ากินมากกว่า 50 กรัมหรือประมาณไข่ 1 ฟองต่อวัน จะเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคเบาหวานขึ้น 60 เปอร์เซ็นต์ .. แถมความสัมพันธ์นี้ยังเห็นได้ชัดในผู้หญิง มากกว่าผู้ชายด้วย
6. แต่ผู้วิจัยเองก็ยอมรับว่า ยังต้องมีการศึกษาอีกมาก ถึงจะพิสูจน์ได้ว่าการกินไข่นั้นเป็นสาเหตุของการเป็นโรคเบาหวาน ... ตัวอย่างเช่น ผลการศึกษาวิจัยนี้มาจากกลุ่มคนจีนเท่านั้น ซึ่งยังไม่รู้ว่าลักษณะทางพันธุกรรมมีผลต่อการเป็นโรคเบาหวานหรือเปล่า รวมถึงลักษณะทางโภชนาการอื่นๆ ของคนจีนที่เปลี่ยนไปด้วย
7. ผลที่ได้นี้ ตรงกันข้ามกับผลการวิจัยจากประเทศฟินแลนด์เมื่อปีที่แล้ว ที่พบว่า การกินไข่วันละฟองนั้นน่าจะลดความเสี่ยงในการเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ลง โดยพวกเขาพบว่าคนที่กินไข่ทุกวัน จะมีรูปแบบเฉพาะของไขมันในเลือด ที่เหมือนกับพวกคนที่ไม่ได้เป็นโรคเบาหวานเลย
(ก่อนหน้านี้ ในปี 2015 นักวิจัยจากฟินแลนด์ ก็เคยระบุว่า การบริโภคไข่จะช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ลดระดับน้ำตาลในเส้นเลือดด้วย)
8. จนถึงวันนี้ก็ยังไม่มีผลการทดลองในห้องปฏิบัติการ ว่า การบริโภคไข่เข้าไปนั้น ส่งผลอย่างไรต่อการเป็นโรคเบาหวานกันแน่
- บางกลุ่มคาดว่า การที่ไข่มีคอเลสเตอรอลสูง (ประมาณ 187 มิลลิกรัมต่อฟอง) อาจจะเป็นปัญหาต่อคนที่เป็นโรคเบาหวาน ซึ่งมีคำแนะนำเอาไว้ว่า ไม่ควรได้รับคอเลสเตอรอล เกินวันละ 200 มิลลิกรัม
- แต่งานวิจัยในยุคหลัง ก็บอกว่า ระดับของคอเลสเตอรอลในเส้นเลือดของเรานั้น ไม่ค่อยสัมพันธ์กับปริมาณคอเลสเตอรอลที่เรากินเข้าไปโดยตรงเท่าไหร่ ... แม้แต่คำแนะนำเรื่องการกินไข่ ที่เคยกำหนดไว้ว่าไม่ควรเกินวันละ 1-2 ฟอง ปัจจุบัน ก็ยกเลิกข้อกำหนดนี้แล้ว
- หรืออาจจะเพราะว่าไข่มีปริมาณโปรตีนสูง ประมาณ 7กรัมต่อฟอง ที่ถ้าเรากินมากเกินไป ร่างกายก็จะเปลี่ยนไปเป็นน้ำตาลกลูโคสได้
- แต่ถ้าเป็นเช่นนั้น การกินเนื้อสัตว์ หรือพืชที่มีโปรตีนสูง ก็ควรจะเป็นปัจจัยของระดับน้ำตาลกลูโคสด้วย ไม่ใช่เฉพาะไข่
9. อย่างไรก็ตามคำแนะนำของสมาคมโรคเบาหวานอเมริกา ( American Diabetes Association) ยังคงแนะนำให้ผู้ที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานแล้วนั้น กินไข่เป็นอาหารเพื่อสุขภาพ เนื่องจากมีปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ต่ำ แค่ 0.5 กรัมต่อฟอง จึงช่วยรักษาระดับน้ำตาลในเส้นเลือดไปได้
โดยสรุปคือ อย่าเพิ่งรีบตกใจกับข่าว จนไม่กล้ากินไข่กันนะครับ .. จริงๆ แล้ว ไข่มีคุณค่าทางอาหารสูงมาก เป็นแหล่งของโปรตีนที่ราคาไม่แพง และมีสารอาหารที่ช่วยทำให้ความทรงจำของเราดีขึ้นด้วยนะครับ
ภาพข่าวและข้อมูลจาก https://www.dailymail.co.uk/sciencetech/article-8954561/One-egg-day-increases-risk-developing-diabetes-60-study-warns.html
american diabetes association 在 American Diabetes Association - YouTube 的推薦與評價
The American Diabetes Association's mission is to prevent and cure diabetes and to improve the lives of all people affected by diabetes. ... <看更多>
american diabetes association 在 American Diabetes Association (amdiabetesassn) - Profile 的推薦與評價
American Diabetes Association | The American Diabetes Association is leading the fight to #StopDiabetes and its deadly consequences, and fighting for all ... ... <看更多>
american diabetes association 在 American Diabetes Association - 首頁| Facebook 的推薦與評價
American Diabetes Association , 阿靈頓郡(維吉尼亞州) 。 778952 個讚· 2470 人正在談論這個· 16 個打卡次。 Our mission is to prevent and cure diabetes and to ... ... <看更多>