🇭🇰 #HongKong
❗️ #พี่แป๋วชวนคุย ฉีดวัคซีนโควิดแบบไขว้กับการเดินทางเข้าฮ่องกง
.
พี่แป๋วได้รับคำถามเรื่องฉีดวัคซีนไขว้อยู่ตลอด และไม่เคยมีคำยืนยันให้ลูกเพจเลย 😣
เพราะไม่เคยเห็นข้อมูลที่ระบุชัดเจนจากประกาศของ สธ ฮ่องกงว่า สามารถทำได้ (ปล. ฮ่องกงไม่มีการฉีดไขว้)
.
แต่เมื่อ 2-3 วันก่อน พี่แป๋วเห็นจากรายงานผู้ติดเชื้อประจำวันของ สธ
.
พบเคสนึงเข้ามาจากแคนาดา เพิ่งเห็นครั้งแรกเลยว่า ฉีดไขว้เข้ามา โดยฉีดมาจากแคนาดา วัคซีนที่ฉีด คือ AstraZeneca และ Moderna
.
พี่แป๋วเลย “สันนิษฐาน(เอง)” ว่า ฮ่องกงน่าจะยอมรับการฉีดไขว้แล้ว ถ้าเป็นวัคซีนที่ฮ่องกงรับรอง
.
ซึ่งวัคซีนที่ฉีดในไทย 🇹🇭 ตอนนี้ คือ SinoVac Sinopharm Pfizer AstraZeneca ฮ่องกงรับรองหมด
.
=================
ทีนี้! ก็ยังมีประเด็นเกิดขึ้น คือ
เมื่อวันก่อนมีลูกเพจท่านนึง (คือ คุณ Pann ขอบคุณมากนะคะ 🙏🏻❤️) ทักมาถามว่า
.
ตกลง AstraZeneca ที่ผลิตในไทย 🇹🇭 ทางฮ่องกงยอมรับรึปล่าว?
.
เพราะในรายชื่อวัคซีนที่รับรองตามประกาศรัฐบาลฮ่องกง 🇭🇰 ระบุชื่อผู้ผลิตไว้ว่า AstraZeneca/SK Bioscience เท่านั้น ซึ่งคือ Astra ที่ผลิตในเกาหลี 🇰🇷
.
ตรงนี้พี่แป๋วก็ขอสารภาพตามตรงว่า ไม่ชัวร์แล้ว 😣 ตอนนี้ก็พยายามเช็คจากแหล่งข่าวที่เชื่อถือได้ก็ยังไม่มีใครยืนยันมาเลย
.
เลยขออนุญาตมาเช็คกับลูกเพจนี่แหล่ะค่ะ 😆🙏🏻❤️🙏🏻
.
#ใครเคยเดินทางเข้าฮ่องกง #และฉีดวัคซีนแอสทร่าของไทย แล้วเข้าฮ่องกงมาได้ โปรดแสดงตัว(หรือหลังไมค์) มาบอกพี่แป๋วหน่อยนะคะ กราบขอบพระคุณอย่างสูงเลยค่ะ 🙏🏻
.
=================
สำหรับตอนนี้ #ผู้ที่จะเข้าฮ่องกงจากไทย 🇭🇰🇹🇭 ต้องเป็น #พลเมืองฮ่องกงที่ฉีดวัคซีนโควิดครบแล้วเท่านั้น
ข่าวน่ายินดี คือ ฮ่องกงเพิ่งมีประกาศรับรองใบฉีดวัคซีนจากไทย 🇹🇭 เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
.
ส่วนรายชื่อวัคซีนที่ฮ่องกงยอมรับทั้งหมด สามารถเช็คได้จากลิงก์นี้นะคะ >> https://www.coronavirus.gov.hk/pdf/list_of_recognised_covid19_vaccines.pdf
.
สำหรับวัคซีนที่ฉีดในไทย 🇹🇭
ตอนนี้ ทางฮ่องกงจะรับรองตามนี้ค่ะ
.
ชื่อผู้ผลิต - ชื่อวัคซีน
(1) AstraZeneca / SK Bioscience
- AstraZeneca COVID-19 vaccine
- Vaxzevria
- COVID-19 Vaccine (ChAdOx1-S [recombinant])
- AZD1222
.
(2) BioNTech
- Comirnaty
- Tozinameran – COVID-19 mRNA vaccine (nucleoside modified)
- Pfizer-BioNTech COVID-19 Vaccine
- BNT162b2
.
(3) Sinopharm / Beijing Institute of Biological Products
- COVID-19 Vaccine (Vero Cell), Inactivated 新型冠狀病毒滅活疫苗(Vero 細胞)
- BBIBP-CorV 眾愛可維
- COVID-19-i 新冠疫苗(Vero 細胞)
- SARS-COV-2 Vaccine (Vero Cell), Inactivated 新型冠狀病毒滅活疫苗(Vero 細胞)
- COVID-19 Vaccine 新型冠狀病毒疫苗
.
(4) Sinopharm / Wuhan Institute of Biological Products
- COVID-19 Vaccine (Vero Cell), Inactivated 新型冠狀病毒滅活疫苗(Vero 細胞)
- WIBP-CorV 眾康可維
.
(5) Sinovac
- CoronaVac 克爾來福
- COVID-19 Vaccine (Vero Cell), Inactivated 新型冠狀病毒滅活疫苗 (Vero 細胞)
.
#EatwithPalLi #พี่แป๋วพากินเที่ยวสิงคโปร์ฮ่องกง 🇸🇬🇭🇰
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
inactivated疫苗 在 Facebook 的最讚貼文
美國醫學會期刊發佈中國的國藥疫苗三期臨床中期分析,國藥的保護力達到7成以上,且沒有重症。不過試驗主要的人群是中東的健康男性平均36.1歲,沒有足夠的慢性病患者、婦女和老人測試。
inactivated疫苗 在 臨床筆記 Facebook 的最佳解答
SARS-CoV-2的疫苗研發製造的策略:
1.去活化病毒疫苗(inactivated virus vaccines):
病毒已經是被用物理的或化學的去活化(Viruses are physically or chemically inactivated),但是仍然保存病毒顆粒的完整性(preserve the integrity of the virus paticle),它們充當免疫抗原(immunogen)。
2.病毒類似的顆粒或奈米顆粒的疫苗(Virus -like particle or nanoparticle vaccines):
結構性的病毒的蛋白質已經被共同表現(structural viral proteins are co-expressed),,形成沒有感染性的顆粒(form non-infectious particles),來當作疫苗的免疫抗原(vaccine immunogen),它們類似真實的類病毒(real virions)但是缺乏病毒的基因體(lack the virus genome)。
3.蛋白質次單元的疫苗(Protein subunit vaccines):
這種策略只有包括關鍵性的病毒的蛋白質或胜太(only key proteins or peptides),它們能夠在細菌(bacteria)酵母菌(yeast)昆蟲或脯乳類細胞(insect or mammalian cells)中在人體外被製造(manufactured in vitro),目前最大多數的在臨床期和臨床前期階段登錄在案候選的SARS-CoV-2疫苗,都是根據這種策略研發製造的。
4.病毒引導導航導向的疫苗(virus-vectored vaccines):
編碼致病原抗原的基因(genes encoding pathogen antigen),是被導入非複製的或複製的病毒載體(cloned into non-replicating or replicating virus vectors)例如腺病毒(adenvirus),這些抗原在免疫化作用後,由被轉換的宿主細胞產生(the antigens are produced by transduced host cells after immunization)。
5.DNA和mRNA疫苗(DNA and mRNA vaccines):
DNA和mRNA疫苗(DNA and mRNA vaccines),有可以快速製造用來抵抗突現性的致病原的優勢(DNA and mRNA vaccines have the advantage of rapid manufacturing against pathogens),DNA 疫苗(DNA vaccines),藉由再重組的DNA 質體所編碼的病毒的抗原(viral antigens encoded by a recombinant DNA plasmid),在宿主細胞中經由次序性的轉錄到轉譯的過程產生(produced in host cells via sequential transcription-to translation process)。相反地,mRNA 疫苗(mRNA vaccines)是藉由在人體外的轉錄過程被合成(synthesized by in vitro transcription),它們經由在人體內的直接的蛋白質轉譯,在細胞質中產生病毒的抗原(they produce viral antigens in the cytoplasm through direct protein trsnslation in vivo)。
6.活的減毒的病毒疫苗(Live-attenuated virus vaccines):
在這種策略中,病毒是藉由在人體外或人體內的過程或反向的遺傳的突變的產生作用而被減毒(virus is attenuated by in vitro or in vivo passage or reverse genetic mutagenesis),這個結果病毒變成沒有致病性或變成弱的致病性(the resulting virus becomes non-pathogenic or weakly pathogenic),但是仍然維持保持類似活的病毒感染的免疫抗原性(retains immunogenecity by mimicking live virus infection)。
資料來源:
Viral targets for vaccines against COVID-19
Nature Reviews Immunology(2020)18 DEC 2020)
感謝 #Cheng_Sheng_Tai 醫師提供資料