「北大社會營」隆重推出~
「獨立思考」、「田野調查」、「社會學」
這幾個字有沒有catch到你?
如果有,支持一下吧!
—————————————————————-
學弟妹們好!
📣我們是第二屆北大社會營
這次我們以「八〇報社」為主題,帶領大家以社員身分回到過去,以社會學思考窺探社會上發生的各種事件,培養獨立思考的能力,並讓大家親自體驗田野調查,實際應用學到的社會科學方法!
❓想了解「社會學」到底在學什麼嗎?
❓在「社會系」可以學習什麼課程與內容?
📣趕快來報名社會營一探究竟吧!
詳細活動資訊請搜尋
🔍fb:第二屆北大社會營—八〇報社
🔍IG @ntpusoc_camp
💟 俐媽英文教室—社會學篇:
* sociology(n.)社會學
* autonomy(n.)自治
* affiliation(n.)聯繫
* advocate(v.)提倡
* analysis(n.)分析
* beard(v.)公然反對
* burden(n.)負擔、責任
* bound(n.)界線、領域
* configuration(n.)結構、型態
* cynical(a.)憤世嫉俗的
* conflict(n.)衝突
* Capitalism(n.)資本主義(-ism: belief)
* Communism(n.)共產主義
* Feminism(n.)女性主義
* deliberative(a.)審議的
* discrepancy(n.)差異、矛盾
* deviation(n.)偏離
* eliminate(v.)消除
* emancipatory(a.)解放的
—> emancipate (v.) 解放
* execute(v.)執行
* fallacy(n.)謬誤
* field(n.)研究田野
* given(prep.)考慮到
* graph(n.)曲線圖
* hindrance(n.)障礙
—> hinder (v.) 阻撓
* heir(n.)繼承人
* induction(n.)歸納法
* individual(n.)個體
* inherent(a.)固有的
—> inherit (v.) 繼承;遺傳
* journal(n.)(學術)期刊
* judge(v.)斷定、審判
* longitudinal(a.)縱貫的
—> longitude (n.) 經線
* militant(n.)激進份子
* microtheory(n.)微觀論
* macrotheory(n.)巨觀論
* nomothetic(n.)通則解釋
* operational(a.)操作的
* order(n.)秩序、規則
* parameter(n.)因素、參數
* perspective(n.)觀點
* paradigm(n.)模型、典範
* patriachal society(n.)父權社會
* quantify(v.)量化
* reductionism(n.)化約論
* radical(v.)激進的(rad-: root)
* relationship(n.)關係
* racism(n.)種族主義
* status(n.)地位
* structural(a.)結構的
* symbolic(a.)符號的
* social statistic(n.)社會統計
* sexual orientation(n.)性傾向
* target(n.)目標
* test(n.)檢測
* unit(n.)單位
* utmost(a.)極端的
* variable(n.)變項
—> independent variable 自變項
—> dependent variable 依變項
—————————————————————
謝謝你們提供大餐給學弟妹學習🙏🏻🙏🏻
#俐媽英文教室
#俐媽英文教室社會學篇
#台大明明孩子努力提升自己💪🏻
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「structural analysis」的推薦目錄:
- 關於structural analysis 在 辣媽英文天后 林俐 Carol Facebook 的最佳貼文
- 關於structural analysis 在 sittikorn saksang Facebook 的最讚貼文
- 關於structural analysis 在 兒科女醫艾蜜莉-歐淑娟醫師 Facebook 的最讚貼文
- 關於structural analysis 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
- 關於structural analysis 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於structural analysis 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於structural analysis 在 35 Structural Analysis ideas - Pinterest 的評價
- 關於structural analysis 在 structural-analysis · GitHub Topics 的評價
structural analysis 在 sittikorn saksang Facebook 的最讚貼文
ข้อพิจารณาถึงความคล้ายคลึงระหว่างหลักนิติรัฐกับหลักนิติธรรมที่นำมาใช้ร่วมกัน
ข้อพิจารณาถึงความคล้ายคลึงระหว่างหลักนิติรัฐกับหลักนิติธรรมที่นำมาใช้ร่วมกัน จะพิจารณาอยู่ 3 เรื่องด้วยกัน คือ ในเรื่องของการกระทำของรัฐต้องชอบด้วยกฎหมาย การกระทำของรัฐต้องอยู่ภายในขอบเขตของกฎหมายที่ให้อำนาจและการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ดังนี้
1.การกระทำของรัฐต้องชอบด้วยกฎหมาย
การกระทำของรัฐต้องชอบด้วยกฎหมาย เมื่อผู้ปกครองรัฐยอมอยู่ใต้กฎหมาย ยอมเคารพและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ต่าง ๆ แห่งกฎหมาย ทั้งในด้านการรับรองคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ และการกำหนดหลักเกณฑ์วิธีการในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ นักนิติศาสตร์จึงถือว่า นิติรัฐ (Legal State) และนิติธรรม (The Rule of Law) เป็นรัฐที่มุ่งจำกัดและตีกรอบการใช้อำนาจของผู้ปกครองรัฐโดยกฎหมาย เพื่อให้ผู้ปกครองรัฐปกครองภายใต้กรอบของกฎหมายเท่านั้น และมิให้ใช้อำนาจนั้นไปโดยอำเภอใจโดยไม่มีขอบเขตหรือไร้กฎเกณฑ์จนทำลายสิทธิเสรีภาพและผลประโยชน์ของประชาชน
แต่ถ้าเป็นการใช้อำนาจตามอำเภอใจจากรัฐจะกลายเป็น “รัฐตำรวจ” (Police State) ทันที ซึ่ง “รัฐตำรวจ” เป็นรัฐที่ฝ่ายปกครองมีอำนาจในการใช้ดุลพินิจอย่างมหาศาล เจ้าหน้าที่ของรัฐสามารถกำหนดมาตรการทางกฎหมายใดๆ ขึ้นใช้บังคับแก่ประชาชนได้ตามที่เห็นสมควรโดยอิสระและด้วยความริเริ่มของตนเอง เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์หนึ่งๆ และเพื่อให้บรรลุวัตถุที่ประสงค์ของรัฐ โดยสรุปแล้ว รัฐตำรวจตั้งอยู่บนแนวคิดที่เชื่อว่า “เป้าหมาย” (Ends) สำคัญกว่า “วิธีการ” (Means) เสมอ และเพื่อให้บรรลุเป้าหมายจะใช้วิธีการอย่างไรนั้นไม่ใช่ประเด็นสำคัญ ดังนั้นในรัฐตำรวจประชาชนจึงเสี่ยงภัยกับ “การกระทำตามอำเภอใจ” (Arbitrary) ของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยไม่อาจคาดหมายผลของการกระทำของตนได้
แต่สำหรับหลักนิติรัฐและนิติธรรมฝ่ายปกครองมีภารกิจหลัก คือ การบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดตามที่ฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภาเป็นผู้ตราขึ้น อำนาจหน้าที่ของฝ่ายปกครอง ไม่ว่าเป็นการตรากฎหรือการออกคำสั่งทางปกครองใดๆ ล้วนมีแหล่งที่มาจากพระราชบัญญัติ มิได้มีอำนาจเป็นของตนเอง ดังนั้น การตรากฎหรือทำคำสั่งทางปกครองใดๆ ที่เป็นการกระทบสิทธิเสรีภาพหรือหน้าที่ของผู้ใต้การปกครอง ต้องมีกฎหมายบัญญัติให้อำนาจไว้อย่างชัดแจ้งเสมอ ตามหลักกฎหมายมหาชน (Public Law) ที่กล่าวว่า “ไม่มีกฎหมาย ไม่มีอำนาจ” โดยเหตุนี้ เมื่อใดที่ฝ่ายปกครองจะดำเนินการใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพ หน้าที่หรือประโยชน์ของเอกชน จะต้องตรวจสอบดูก่อนเสมอว่ามีกฎหมายลายลักษณ์อักษรฉบับใดให้อำนาจกระทำการเช่นนั้นหรือไม่ หากไม่มีกฎหมายหรือกฎหมายที่ให้อำนาจกำหนดเงื่อนไขข้อจำกัดการใช้อำนาจไว้ ฝ่ายปกครองต้องปฏิบัติตามโดยเคร่งครัด
2. การกระทำของรัฐต้องอยู่ภายในขอบเขตของกฎหมาย
การกระทำของรัฐต้องอยู่ภายในขอบเขตของกฎหมาย ในประเทศที่เป็นนิติรัฐ (Legal State) และนิติธรรม (The Rule of Law) ขอบเขตแห่งอำนาจหน้าที่ของรัฐย่อมกำหนดไว้แน่นอน มีการแบ่งแยกอำนาจ (Separation of powers) ในการใช้อำนาจรัฐ ซึ่งไม่ได้หมายความว่าเป็นการเอาอำนาจอธิปไตยมาแบ่งออกเป็นส่วนๆ แต่เป็นการแบ่งหน้าที่ในการใช้อำนาจรัฐ โดยหน้าที่อย่างหนึ่งมอบให้องค์กรหนึ่งเป็นผู้ใช้หัวใจสำคัญ แต่อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาวิเคราะห์ลึกลงไปทางทฤษฎีการวิเคราะห์โครงสร้างทางหน้าที่ (Structural-Functional Analysis) แล้ว เกเบรียล อัลมอนด์ (Gabriel Almond) และเจมส์ โคลแมน (James Coleman) เห็นว่า ลักษณะการใช้อำนาจของรัฐที่ปรากฏออกมา (output) ควรแยกเป็น การจัดทำกฎหมาย การใช้บังคับกฎหมาย และการตัดสินตามกฎหมาย ซึ่งก็ คือ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ที่กล่าวกันมาแต่เดิมนั้นเอง แต่พิจารณาโดยดูเนื้อหาเป็นสำคัญ ซึ่งจะปรากฏอำนาจเหล่านี้มิใช่ลักษณะเฉพาะขององค์กรใด เช่น รัฐสภามิใช่องค์กรเดียวที่มีอำนาจจัดทำกฎหมายแต่รัฐบาลก็จัดทำกฎและศาลก็จัดทำกฎหมายด้วยหรือฝ่ายปกครองก็มีการตัดสินตามกฎหมายด้วย เป็นต้น
ดังนั้นความมุ่งหมายแท้จริงของ “หลักการแบ่งแยกอำนาจ” (Separation of Powers) จึงควรเป็น “การกระจายหน้าที่หรือการแบ่งหน้าที่” (Function of Powers) ตามความสามารถเฉพาะด้านและดูแลให้เกิดการคานและดุลกัน (Check and Balance) เพื่อมิให้เกิดการใช้อำนาจโดยมิชอบ และในความเป็นจริงของการจัดกลไกการปกครองกับปรากฏให้เห็นถึงการร่วมมือและการถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน อยู่บนพื้นฐานของหลักสมควรแก่เหตุหรือหลักความได้สัดส่วน ดังนี้
2.1 ข้อพิจารณาเกี่ยวกับหลักสมควรแก่เหตุของหลักนิติรัฐและหลักนิติธรรมที่เป็นกรอบการจำกัดการใช้อำนาจรัฐฝ่ายนิติบัญญัติ การใช้อำนาจรัฐฝ่ายบริหารและการใช้อำนาจรัฐฝ่ายตุลาการ
เมื่อพิจารณาศึกษาถึงที่ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายตุลาการต้องกระทำอยู่ภายใต้ “หลักสมควรแก่เหตุ” หรือ “หลักความได้สัดส่วน” ซึ่งเป็นหลักกฎหมายทั่วไปของกฎหมายมหาชนโดยไม่ได้บัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษร ได้ยอมรับว่าเป็น “กฎหมายระหว่างประเทศ” นำมาใช้ในการควบคุมตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐที่มีผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน ซึ่งหลักสมควรแก่เหตุที่เป็นที่ใช้ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐจะประกอบด้วยสาระสำคัญ ดังนี้
2.1.1 หลักความเหมาะสม (Principle of Suitability)
หลักความเหมาะสมนี้นักวิชาการได้เรียกหลักนี้อย่างหนึ่งว่า “หลักสัมฤทธิ์ผล” ) เมื่อพาจรณาถึงความเหมาะสมจะหมายถึง สภาพการณืซึ่งรัฐได้ทำการแทรกแซงและภายในสภาพนั้นรัฐจะต้องคำนึงถึงการทำให้บรรลุวัตุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยมาตรการนั้นวางอยู่บนสมมติฐานที่ได้รับการยอมรับหรือเป็นมาตรการที่ได้แสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้งว่ามีความเป็นไปได้ที่จะบรรลุวัตุประสงค์ ดังนั้นหลักความเหมาะสมนี้นี้จะเป็นการจำกัดกรอบการใช้อำนาจรัฐว่าต้องกระทำด้วยการคำนึงถึงการทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ดังนั้นหลักความเมาะสมถือเป็นหลักที่บังคับให้ผู้ใช้อำนาจรัฐในการตรากฎหมาย การบังคับใช้กฎหมายและการตัดสินตามกฎหมาย ต้องกระทำโดยมีความเหมาะสมให้เกิดสัมฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ในกฎหมาย
2.1.2 หลักความจำเป็น (Principle of Necessity)
หลักความจำเป็นถือเป็นหลักที่พิจารณาถึงมาตรการหรือวิธีการที่เหมาะสมที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชนให้น้อยที่สุดเท่านั้น หรือถ้ากระทำไปเพื่อประโยชน์ส่วนรวมแต่อาจกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชนได้นั้นต้องกระทำด้วยความจำเป็นและให้มีผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชนขั้นพื้นฐานให้น้อยที่สุด
2.1.3 หลักความได้สัดส่วนในความหมายอย่างแคบ (Principle of Proportionality stricto sensu)
หลักนี้เป็นเรื่องของการวางหลักความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุประสงค์และวิธีการ กล่าวคือ มาตราการใดหรือวิธีการใดที่รัฐจะกระทำจะต้องอยู่ภายในขอบเขตความสัมพันธ์ที่เหมาะสมระหว่างวิธีการกับวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ เป้นการชั่งน้ำหลักของมาตรการหรือวิธีการใดวิธีการหนึ่งให้ได้สัดส่วนระหว่างประโยชน์สาธารณะกับสิทธิเสรีภาพของประชาชนให้เกิดดุลยภาพกันในสังคมภายใต้กรอบของกฎหมาย
2.2 การใช้อำนาจนิติบัญญัติ
การใช้อำนาจนิติบัญญัติ โดยหลักการที่สำคัญ คือ การใช้อำนาจอธิปไตยในการจัดทำกฎหมาย ซึ่งอำนาจอธิปไตยในการจัดทำกฎหมาย นั้นถ้าประเทศที่ใช้ระบบรัฐบาลแบบระบบแบบรัฐสภา เช่น กรณีของประเทศไทย ร่างกฎหมายส่วนใหญ่จะเสนอโดยรัฐบาล (ฝ่ายบริหาร) และรัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) จะเป็นผู้พิจารณาต่อไปว่าจะรับหรือไม่ เป็นต้น ถ้าเป็นระบบรับบาลแบบประธานาธิบดี เช่น กรณีของประเทศสหรัฐอเมริกาการจัดทำกฎหมายเป็นการริเริ่มโดยรัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) แต่การประกาศให้บังคับกฎหมายต้องให้ประธานาธิบดีลงนาม ซึ่งประธานาธิบดีอาจใช้สิทธิอาจใช้สิทธิยับยั้ง ไม่ยอมลงนามให้ใช้เป็นกฎหมาย เว้นแต่รัฐสภาจะยืนยันโดยมติพิเศษจำนวนไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของสมาชิกสภา เป็นต้น และที่สำคัญการกระทำของฝ่ายนิติบัญญัติในการตรากฎหมายต้องตรากฎหมายอยู่บนพื้นฐานของหลักสมควรแก่เหตุหรือหลักความได้สัดส่วน หลักความเสมอภาคและการตรากฎหมายต้องไม่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญด้วย
ตัวอย่างการ ใช้อำนาจรัฐของฝ่ายนิติบัญญัติในกรณีของประเทศไทยที่ใช้หลักสมควรแก่เหตุหรือหลักความได้สัดส่วนภายใต้หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม เช่น กรณีของพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484
“มาตรา 7 ไม้สักและไม้ยางทั่วไปในราชอาณาจักรไม่ว่าจะขึ้นอยู่ที่ใดเป็นไม้หวงห้ามประเภท ก. ไม้ชนิดอื่นในป่าจะให้เป็นไม้หวงห้ามประเภทใด ให้กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
การเพิ่มเติมหรือเพิกถอนชนิดไม้ หรือเปลี่ยนแปลงประเภทไม้หวงห้ามที่ได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดไว้แล้วก็ดี หรือจะกำหนดไม้ชนิดใดเป็นไม้หวงห้ามประเภทใดขึ้นในท้องที่ใด นอกจากท้องที่ที่ได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดตามความในมาตราก่อนแล้วนั้นก็ดี ให้กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
พระราชกฤษฎีกาซึ่งตราขึ้นตามความในวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้ใช้บังคับได้เมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา”
เมื่อพิจารณาจากบทบัญญัติมาตรา 7 พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 ที่ได้กำหนดให้การทำไม้หวงห้ามประเภท ก. เช่น ไม่สัก ไม้ยางทั่วไป ไม่ว่าขึ้นในท้องที่ใดถือเป็นการทำไม้หวงห้ามต้องขออนุญาต ซึ่งในกรณีไม้สัก ไม้ยาง ขึ้นในที่ดินที่มีเอกสารสิทธิ์เป็นทรัพย์สินของเอกชน เวลาทำไม้ต้องขออนุญาตนั้นเห็นว่าเป็นการจำกัดสิทธิเสรีภาพที่ขัดต่อหลักสมควรแก่เหตุหรือหลักได้ความสัดสวน ฝ่ายนิติบัญญัติได้มองเห็นความสำคัญของถึงหลักสมควรแก่เหตุนี้จึงได้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติป่าไม้พ.ศ. 2484 มาตรา 7 (แก้ไข ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2562) ดังนี้
“มาตรา 7 ไม้ชนิดใดที่ขึ้นในป่าจะให้เป็นไม้หวงห้ามประเภทใด ให้กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา สำหรับไม้ทุกชนิดที่ขึ้นในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดินไม่เป็นไม้หวงห้าม หรือไม้ที่ปลูกขึ้นในที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ทำประโยชน์ ตามประเภทหนังสือแสดงสิทธิที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ให้ถือว่าไม่เป็นไม้หวงห้าม”
2.3 การใช้อำนาจบริหาร
การใช้อำนาจบริหาร เป็นการใช้อำนาจอธิปไตยในการบังคับให้เป็นไปตามกฎหมาย ซึ่งอำนาจบริหารเข้าใจในเบื้องต้นว่า เป็นอำนาจของรัฐบาลหรือฝ่ายบริหาร จะพบว่าการใช้อำนาจตามกฎหมาย 2 ลักษณะ ดังนี้
2.3.1 การใช้อำนาจบริหารกระทำในฐานะทางการเมืองโดยอาศัยอำนาจกฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นหลัก
การใช้หลักสมควรแก่เหตุของฝ่ายบริหารในฐานะทางการเมืองที่รัฐธรรมนูญได้ให้อำนาจไว้ เช่น เรื่องจำเป็นเร่งด่วนอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยสาธารณะหรือความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศหรือป้องภัยพิบัติสาธารณะหรือกรณีที่มีความจำเป็นที่ต้องตรากฎหมายที่เกี่ยวด้วยการภาษีอากรหรือเงินตรา ซึ่งจะต้องได้รับการพิจารณาโดยด่วนหรือลับเพื่อรักษาประโยชน์ของแผ่นดินก็ให้ฝ่ายบริหารในฐานทางการเมืองออกกฎหมายได้ เช่น ในกรณีของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ให้อำนาจฝ่ายบริหารการออกพระราชกำหนด มาตรา 172-174 เป็นต้น
2.3.2 กระทำในฐานะฝ่ายปกครองโดยอาศัยอำนาจกฎหมายปกครองเป็นหลัก
การใช้หลักสมควรแก่เหตุของฝ่ายบริหาร เช่น ในกรณีของประเทศไทยที่ใช้หลักสมควรแก่เหตุหรือหลักความได้สัดส่วนภายใต้หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม เราสามารถพบได้จากการตรวจสอบการใช้อำนาจของฝ่ายปกครองที่ใช้หลักสมควรแก่เหตุก็คือการบังคับบัญชาและการกำกับดูแล ดังนี้
2.3.2.1 ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการบังคับบัญชาและการกับกำกับดูแลในแง่นิติบุคคล
ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการบังคับบัญชาและการกับกำกับดูแลในแง่นิติบุคคล กล่าวคือ อำนาจบังคับบัญชา เป็นความสัมพันธ์ภายในนิติบุคคลมหาชนเดียวกัน เช่น ภายในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เป็นต้น ส่วนอำนาจกำกับดูแล เป็นความสัมพันธ์ระหว่างนิติบุคคลมหาชน เช่น จังหวัดกับองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นต้น
2.3.2.2 ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการบังคับบัญชาและการกับกำกับดูแล ในแง่ที่มาของการใช้อำนาจ
ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการบังคับบัญชาและการกับกำกับดูแล ในแง่ที่มาของการใช้อำนาจ กล่าวคือ อำนาจบังคับบัญชาเป็นอำนาจทั่วไปที่เกิดจากการจัดระเบียบภายในของรัฐ ภายในหน่วยงานของรัฐแต่ละแห่ง ความสัมพันธ์ของบุคลากรจะเป็นความสัมพันธ์ตามลำดับชั้นในรูปปิรามิด เจ้าหน้าที่แต่ละคนซึ่งอยู่ที่ฐานปิรามิด จะขึ้นตรงต่อเจ้าหน้าที่คนหนึ่งและต้องปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งหรือคำบังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่ผู้นี้โดยเคร่งครัด และเจ้าหน้าที่ผู้นี้เองก็จะขึ้นตรงต่อเจ้าหน้าที่เหนือตนขึ้นไป และต้องปฏิบัติหน้าที่ของตนตามคำสั่ง คำบัญชาของเจ้าหน้าที่เหนือตนขึ้นไป เป็นเช่นนี้ตลอดสาย จนถึงหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นซึ่งอยู่ที่ยอดปิรามิด และจะเป็นผู้รับผิดชอบงานทั้งหมดของหน่วยงาน ด้วยเหตุนี้เองการการควบคุมผู้ใต้บังคับบัญชาโดยผู้บังคับบัญชาจึงไม่จำเป็นต้องมีกฎหมายให้อำนาจไว้อย่างชัดแจ้ง และผู้บังคับบัญชาจะปฏิเสธไม่ตรวจสอบคำวินิจฉัยสั่งการของผู้ใต้บังคับบัญชา โดยอ้างว่าไม่มีกฎหมายให้อำนาจไว้ไม่ได้ อำนาจบังคับบัญชา เป็น “อำนาจตามกฎหมายทั่วไป” ไม่จำเป็นต้องมีกฎหมายกำหนดโดยเฉพาะ ส่วนอำนาจกำกับดูแล เป็นอำนาจที่เกิดขึ้นโดยกฎหมาย กล่าวคือ รัฐ องค์กรส่วนกลางจะกำกับดูแลหรือมอบให้ส่วนภูมิภาค กำกับดูแล หน่วยงานเหล่านี้ ได้แก่ การปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ รัฐวิสาหกิจหรือ องค์การมหาชนหรือ หน่วยอื่นของรัฐที่อยู่ภายใต้กำกับดูแลของฝ่ายบริหารหรือ หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางปกครองหรือดำเนินกิจการทางปกครองและกำกับดูแลได้ต่อเมื่อ “กฎหมายให้อำนาจไว้อย่างชัดแจ้ง และเพียงเท่าที่กฎหมายกำหนดไว้” เท่านั้น “ไม่มีการกำกับดูแลโดยปราศจาก
อำนาจตามกฎหมายและไม่มีการกำกับดูแลเกินขอบเขตที่กฎหมายกำหนดไว้”
2.3.2.3 ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการบังคับบัญชาและการกับกำกับดูแลในแง่ขอบเขตอำนาจการตรวจสอบการกระทำ
ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการบังคับบัญชาและการกับกำกับดูแลในแง่ขอบเขตอำนาจการตรวจสอบการกระทำ กล่าวคือ อำนาจบังคับบัญชา เป็นอำนาจที่เปิดโอกาสให้ผู้บังคับบัญชาสามารถควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาสามารถควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ใต้บังคับบัญชาของตนได้อย่างสิ้นเชิง คือ สามารถตรวจสอบการกระทำต่าง ๆ ของผู้ใต้บังคับบัญชาของตนได้ทั้งในแง่ “ความชอบด้วยกฎหมาย” และ “ความเหมาะสม” ผู้ใต้บังคับบัญชาจึงไม่มีอิสระโดยปราศจากการควบคุมของผู้บังคับบัญชาได้ ส่วนอำนาจกำกับดูแล โดยปกติกฎหมายจะให้อำนาจรัฐหรือองค์การปกครองส่วนกลางและส่วนภูมิภาคกำกับดูแลตรวจสอบ องค์การปกครองท้องถิ่นหรือ รัฐวิสาหกิจ หรือ องค์การมหาชน หรือ หน่วยอื่นของรัฐที่อยู่ภายใต้กำกับดูแลของฝ่ายบริหารหรือ หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางปกครองหรือดำเนินกิจการทางปกครอง ในจัดทำบริการสาธารณะมิให้กระทำนอกวัตถุประสงค์และขัดแย้งกฎหมาย คือ “การตรวจสอบความชอบด้วยฎหมาย” ทั้งนี้เพื่อรักษาความเป็นอิสระของหน่วยงานอยู่ภายใต้การกำกับดูแล อันเป็นหลักการกระจายอำนาจไว้
2.3.2.4 ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการบังคับบัญชาและการกับกำกับดูแลในแง่ลักษณะผลของออกคำสั่งการในการใช้อำนาจ
ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการบังคับบัญชาและการกับกำกับดูแลในแง่ลักษณะผลของออกคำสั่งการในการใช้อำนาจ กล่าวคือ อำนาจบังคับบัญชา โดยหลักการมีคำสั่งใด ๆ ตามอำนาจบังคับบัญชาไม่ถือว่าเป็นคำสั่งทางปกครอง ยกเว้นกรณีแต่งตั้งโยกย้าย อำนาจกำกับดูแลของผู้กระทำดูแลที่สั่งการไปยังองค์กรหรือบุคคลที่ถูกกำกับดูแลจะเป็นคำสั่งทางปกครองทุกกรณี
การกระทำของฝ่ายบริหารทั้ง 2 ฐานะดังกล่าวจะกระทำเกินขอบเขตของกฎหมายให้อำนาจไว้ไม่ได้ ต้องกระทำอยู่บนพื้นฐานของหลักสมควรแก่เหตุหรือหลักความได้สัดส่วนและหลักความเสมอภาคในการบังคับใช้กฎหมาย แต่อย่าไรก็ตามในระบบการปกครองปัจจุบันจะมีการกระจายอำนาจบริหารออกไปหลายระดับ ทั้งแนวดิ่งและแนวนอนตามความชำนาญเฉพาะด้านและการธำรงประสิทธิภาพในการจัดการ เช่น ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และหน่วยงานอิสระต่าง ๆ รวมไปถึงหน่วยงานเอกชนที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจหรือดำเนินกิจการทางปกครองด้วย
2.4 การใช้อำนาจตุลาการ
การใช้อำนาจตุลาการ เป็นการใช้อำนาจอธิปไตยในการตัดสินตามกฎหมาย อำนาจตุลาการเป็นอำนาจที่ทุกคนเห็นตรงกันว่าต้องใช้โดยบุคคลที่มีความเป็นกลางและต้องมีความเป็นอิสระเพื่อค้ำประกันความเป็นกลางนั้นด้วย อำนาจวินิจฉัยคดี มอบหมายให้ศาล (ฝ่ายตุลาการ) เป็นผู้ใช้อำนาจในการวินิจฉัยชี้ขาดคดีข้อพิพาทในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในการใช้อำนาจทางนิติบัญญัติและอำนาจบริหาร ฝ่ายตุลาการมีภาระหน้าที่ในการควบคุมการตรวจสอบการปฏิบัติตามหลักการของหลักนิติรัฐ (Legal State) และหลักนิติธรรม (The Rule of Law) ขององค์กรของรัฐฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ ดังนั้นองค์กรของรัฐฝ่ายตุลาการจึงตองเป็นอิสระและเที่ยงธรรมบนพื้นฐานของหลักสมควรควรแก่เหตุหรือหลักความได้สัดส่วนและหลักความเสมอภาคในทางกฎหมาย
ตัวอย่าง การใช้อำนาจรัฐตุลาในกรณีของประเทศไทยที่ใช้หลักสมควรแก่เหตุหรือหลักความได้สัดส่วนภายใต้หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม การในการนำหลักสมควรแก่ตุหรือหลักความได้สัดส่วนมาวินิจฉัยคดี ได้แก่ คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 54/2548 กรณีศาลจังหวัดลำพูนส่งคำร้องของจำเลย ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญมาตรา 264 (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540) กรณีมาตรา 5 และมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ ในกรณีดังกล่าวศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล้วเห็นว่าพระราชบัญญัติสรา พ.ศ. 2493 มาตรา 5 เป็นบทบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดทำสุราหรือมีภาชนะหรือเครื่องกลั่นสำหรับทำสุราไว้ในครอบครอง เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากอธิบดี ซึ่งการที่กฎหมายกำหนดให้การทำสุราหรือมีภาชนะหรือเครื่องต้มกลั่นสุราไว้ในครอบครองโดยจะต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมสรรพสามิตนั้น เป็นเรื่องการควบคุมการผลิตสุราเพื่อประโยชน์ในทางภาษีและสุขภาพอนามัยของประชาชน ถึงแม้อาจเป็นการกระทำที่จำกัดสิทธิบ้าง แต่เป้นการกระทำที่จำเป็นและไม่กระทบกระเทือนสาระสำคัญแห่งสิทธิเสรีภาพในการผลิตสุรา เนื่องจากการผลิตสุราสามารถกระทำได้ภายใต้การควบคุมจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ประกอบกับพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 มาตรา 5 ไม่ได้ทำให้เสียศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์แต่อย่างใด ดังนั้นพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 จึงไม่มีข้อความใดขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 28 และ มาตรา 29 (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540) เป็นต้น
ดังนั้นการใช้อำนาจอธิปไตยทั้ง 3 ในนามรัฐนี้ ต้องมีตัวแทนเข้าไปใช้อำนาจดังกล่าว เช่น การกำหนดหลักเกณฑ์หรือการสรรหาของบุคคลเข้าไปใช้อำนาจในการออกกฎหมาย (สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา) การกำหนดบุคคลใช้อำนาจทางบริหาร (คณะรัฐมนตรีใช้อำนาจทางการเมือง ที่เรียกว่า “ฝ่ายการเมือง” กับเจ้าหน้าที่ของรัฐใช้อำนาจในทางปกครองหรือที่เรียกว่า “ฝ่ายปกครอง” ) การกำหนดบุคคลเข้าไปใช้อำนาจทางตุลาการ (ผู้พิพากษาของศาลต่างๆ) และบุคคลที่เข้าไปใช้อำนาจในนามรัฐต้องกระทำอยู่บนพื้นฐานของหลักสมควรแก่เหตุหรือหลักความได้สัดส่วน อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัตินั้นเป็นการยากที่จะแยกอำนาจอธิปไตยออกจากกันอย่างเด็ดขาด การจะพิจารณาว่าการกระทำขององค์กร 1 ใน 3 นี้ องค์กรใดขัดหรือฝ่าฝืนต่อหลักการแบ่งแยกอำนาจ (Separation of Powers) หรือการแบ่งหน้าที่ (Function of Powers) หรือไม่เพียงใด การกระทำนั้นจะต้องไม่กระทบแก่นของหลักการแบ่งแยกอำนาจ ซึ่งอาจพิจารณาได้จากหลักเกณฑ์ต่อไปนี้
1) ดูจากเจตนาว่าการกระทำนั้นๆว่าจะต้องไม่มีเจตนาร้ายที่จะขัดขวางการใช้อำนาจขององค์กรใดองค์กรหนึ่ง
2) ดูจากผลของการกระทำนั้นๆว่าจะต้องไม่ส่งผลรุนแรงถึงขนาดที่ทำให้อำนาจอื่นไม่สามารถดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดได้หรือเกิดปัญหาในการใช้อำนาจ
3) ดูจากปริมาณของกรณีที่ถูกกระทบว่าจะต้องไม่ก้าวก่ายเข้าไปในอำนาจอื่นหลายครั้ง หากเป็นกรณีครั้ง 2 ครั้งและไม่เข้าข่าย ข้อ 1) และ 2) ก็อาจพออนุโลม
3. การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ในการแบ่งอำนาจหน้าที่ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร ซึ่งรวมถึงฝ่ายปกครอง ซึ่งเป็นเสมือนกลไกเสมือนเครื่องมือของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน ก็มักจะเกิดปัญหาขึ้นว่า เรื่องใดจะต้องให้สภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) เป็นตรากฎเกณฑ์ เรื่องใดสามารถปล่อยให้ฝ่ายบริหารในฐานะฝ่ายการเมือง (รัฐบาลหรือคณะรัฐมนตรี) กับฝ่ายบริหารในฐานะฝ่ายปกครองกำหนดกฎเกณฑ์ขึ้นเองได้ สำหรับเรื่องนี้หากนำหลักการแนวคิดว่าด้วยการปกครองระบอบประชาธิปไตยเข้ามาประกอบการพิจารณา จะพบว่า ถ้าการกระทำนั้นเป็นเรื่องสำคัญซึ่งกระทบ กระเทือนสถานภาพหรือสิทธิเสรีภาพของประชาชน ไม่ว่าเป็นประเด็นทางการเมือง เศรษฐกิจหรือสังคม จะต้องให้รัฐสภาซึ่งเป็นตัวแทนของประชาชนเป็นผู้บัญญัติกฎหมายออกมา โดยฝ่ายบริหารทำหน้าที่ในการนำกฎหมายมาใช้บังคับและกำหนดรายระเอียดในทางปฏิบัติ ดังนั้นหลักการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน รัฐจะกระทำโดยอำเภอใจและมิชอบด้วยกฎหมายต่อประชาชนมิได้ เพราะรัฐได้ยอมตนอยู่ภายใต้ระบบกฎหมายและยอมผูกพันการกระทำใดๆของตนกับกฎเกณฑ์ของกฎหมายที่รัฐได้ตราขึ้นจึงมีหลักการที่สำคัญคือ หลักการควบคุมไม่ให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญ หลักการควบคุมไม่ให้การกระทำขององค์กรของรัฐฝ่ายบริหารขัดต่อกฎหมาย โดยมีองค์กรของรัฐฝ่ายตุลาการ เป็นผู้คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและรวมไปถึงองค์กรอิสระ เช่น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ผู้ตรวจการแผ่นดิน องค์กรอัยการ คณะกรรมการป้องกันปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เป็นต้น ที่มีอำนาจในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนนั้นด้วย
หนังสือเอกสารวารสารอ่านประกอบ
วรเจตน์ ภาคีรัตน์ “นิติรัฐกับความยุติธรรมทางสังคม” นิติราษฎร์ : นิติศาสตร์เพื่อราษฎร
http://www.enlightened-jurists.com/ เข้าถึงข้อมูลวันพุธ ที่ 4 ธันวาคม 2554
......................... “หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม”
http://www.pub-law.net/publaw/view.aspx?id=1431 เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันอังคารที่ 6 ธันวาคม 2554
สิทธิกร ศักดิ์แสง “ศาลเป็นผู้สร้างหลักกฎหมายได้หรือไม่ในระบบกฎหมายไทย” วารสารกฎหมาย
ใหม่ ปีที่ 5 ฉบับที่ 83 พฤษภาคม 2550
structural analysis 在 兒科女醫艾蜜莉-歐淑娟醫師 Facebook 的最讚貼文
直接講結論:
#鐵路車輛中不應使用任何形式的安全帶
詳細內容請看王士豪醫師寫的內文。感謝王醫師分享、同意轉載分享!
願逝者安息,生者平安。
———
PS:目前血庫供血量正常,大家暫時可以不用急著去捐血唷!
標題:鐵路車輛中不應使用任何類型的安全帶
作者及譯者:王士豪
版權沒有,歡迎分享
普悠瑪列車出軌,造成重大傷亡,令人哀傷。
許多朋友問我為何高鐵和台鐵的各型列車,許多是日系列車,理論上很注重安全。那為何只有身心障礙座位或是輪椅固定區有設置安全帶?一般座位沒有設置安全帶呢?
先說重點:
從事故分析、模擬碰撞測試及電腦模型測試中得到的結論是,鐵路車輛中不應使用任何類型的安全帶。
兩點式安全帶通常會在碰撞中增加乘客受傷,而三點式安全帶雖然可以減少對有使用安全帶的乘客的傷害,但他們卻同時需要加強座椅的靠背強度,而加強座椅的靠背強度會增加對沒有綁安全帶的乘客的傷害。
說明:火車事故通常伴隨高速的減速與翻滾,所以兩點式安全帶會增加內臟的傷害與上半身甩動傷害。三點式安全帶則因為身體被牢牢綁住,而讓沒有使用安全帶的人,會因為快速減速而往前拋出,撞到前頭有繫安全帶的人,造成兩人都受傷,所以要加強椅背強度。然而,高強度的椅背,則會讓沒綁安全帶的人,高速撞擊時,受到更嚴重的傷害。
使用安全帶雖然能免於讓乘客直接被拋出火車外,但是由於會讓乘客無法被拋出一開始承受撞擊而損壞的結構,而干擾病患脫困與存活的空間,反而會讓傷亡增加。
說明:鐵道事故發生時,因爲結構重大損壞,且有可能發生火災,有時候乘客被拋出原本承受撞擊結構受損的部位,或是乘客沒有被固定在座位上,反而更有利於救援及增加存活機會。一個結構損壞的列車,若每個乘客都被安全帶牢牢繫住,就算沒有失火,也會讓乘客被救出更耗時耗力,而增加傷亡。
全文:
根據英國鐵路安全標準委員會(Railway Safety & Standard Board, RSSB)在2007年公佈,2018年10月最新修訂的編號T-201標題為《改善座椅及桌子的設計來減少乘客傷害(Improving the design of seats and tables to minimise passenger injuries)》作出以下幾點建議,為大家節錄原文、翻譯並說明如下:
1. This research aimed to identify improvements to seat and table design to minimise injuries in an accident.
翻譯:該研究旨在研究並確定用來減少火車事故傷害的各種座椅和桌子設計的改進方式。
2. The research led to the development of an anthropomorphic testing device (ATD - crash test dummy) specifically for the rail environment. The ATD was then used to evaluate the benefits of two-point lap belts (as used in commercial aviation) and three-point, lap and diagonal belts (as used in cars).
翻譯:這個研究設計一個專用於鐵路運輸環境的模擬設備(ATD - 碰撞測試假人)。並使用ATD評估來兩點式安全帶(用於商用航空)和三點式安全帶(用於汽車)的好處。
3. Accident analysis, sled testing, and computer modelling concluded that neither type of seat belt should be used in rail vehicles.
翻譯:從事故分析、模擬碰撞測試及電腦模型測試中得到的結論是,鐵路車輛中不應使用任何類型的安全帶。
4. Two-point seat belts would usually increase passenger injuries in a crash, and while three-point seat belts could reduce injury to restrained passengers, they require the strengthening of seat backs which would increase injuries to unrestrained passengers.
翻譯:兩點式安全帶通常會在碰撞中增加乘客受傷,而三點式安全帶雖然可以減少對有使用安全帶的乘客的傷害,但他們卻同時需要加強座椅的靠背強度,而加強座椅的靠背強度會增加對沒有綁安全帶的乘客的傷害。
王士豪補充說明:火車事故通常伴隨高速的減速與翻滾,所以兩點式安全帶會增加內臟的傷害與上半身甩動傷害。三點式安全帶則因為身體被牢牢綁住,而讓沒有使用安全帶的人,會因為快速減速而往前拋出,撞到前頭有繫安全帶的人,造成兩人都受傷,所以要加強椅背強度。然而,高強度的椅背,則會讓沒綁安全帶的人,高速撞擊時,受到更嚴重的傷害。
5. Seat belts also prevent passengers being thrown clear of structural damage. The investigation suggested that for every life that may have been saved by fitting seat belts eight lives may have been lost due to major structural collapse.
翻譯:使用安全帶會讓乘客無法被拋出一開始承受撞擊而損壞的結構,而干擾病患脫困與存活的空間,反而會讓傷亡增加。研究顯示,在這種情況下,繫安全帶也許可以救到一些人,但每多救一條生命,同時會有更多人因為由結構坍塌無法逃生,導致額外增加損失八條生命。
王士豪補充說明:
鐵道事故發生時,因爲結構重大損壞,且有可能發生火災,有時候乘客被拋出原本承受撞擊結構受損的部位,或是乘客沒有被固定在座位上,反而更有利於救援及增加存活機會。一個結構損壞的列車,若每個乘客都被安全帶牢牢繫住,就算沒有失火,也會讓乘客被救出更耗時耗力,而增加傷亡。
6. Current crashworthy seats, that are designed to absorb energy in accidents, thus reducing injury to passengers, should be retained.
翻譯:目前的防撞座椅,可以吸收鐵路事故中的能量,並減少對乘客的傷害,建議予以保留。
原文出處:英國鐵路安全標準委員會(Railway Safety & Standard Board, RSSB)網頁。
英文摘要網址:
https://www.rssb.co.uk/pages/research-catalogue/t201.aspx
英文全文網址:
https://www.rssb.co.uk/…/research-d…/research-brief-T201.pdf
山雲白袍 王士豪醫師 2018.10.21
#鐵路運輸毋需安全帶
#搭乘飛機仍建議全程繫緊安全帶
#汽車駕駛人及乘客請務必正確使用安全帶或孩童使用安全座椅
structural analysis 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
structural analysis 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
structural analysis 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
structural analysis 在 structural-analysis · GitHub Topics 的推薦與評價
XC finite element analysis package for analysis of civil engineering structures. open-source finite-elements finite-element-analysis opensees libgmp structural- ... ... <看更多>
structural analysis 在 35 Structural Analysis ideas - Pinterest 的推薦與評價
Aug 8, 2019 - Explore Emad S's board "structural Analysis" on Pinterest. See more ideas about structural analysis, structural engineering, civil engineering ... ... <看更多>