「與台灣同行」—蛋白質疫苗的優缺點,和關鍵技術
高端疫苗是台灣首支與美國衛生研究院(NIH)合作開發的疫苗,與另一款美國生物科技公司諾瓦瓦克斯(Novavax)所研發的Covid-19疫苗同樣採取「蛋白質次單位技術」(即「基因重組蛋白技術」)。
■美國諾瓦瓦克斯(Novavax)同樣採用蛋白質次單位技術來研發疫苗
美國生物科技公司諾瓦瓦克斯(Novavax)表示,其研發的兩劑式Covid-19疫苗,在美國和墨西哥的第三期大型臨床試驗結果顯示,對有症狀感染具有逾9成的保護力,對中度至嚴重感染的保護力更達百分之百,且對全球主要變種病毒株的保護力也達9成。
根據美國全國公共電台(NPR)報導,美國藥廠諾瓦瓦克斯採用「蛋白質次單位技術」,這種疫苗與已在美國獲得緊急授權使用疫苗,其不同之處在於此種疫苗包含棘狀蛋白本身,人體無需再製造,再搭配一種輔劑,以強化免疫系統反應,可讓疫苗更具保護力。
《自然醫學》(Nature Medicine)期刊最新研究也指出,藉由以Covid-19復原患者血清的中和抗體濃度做比較,結果顯示七款Covid-19疫苗中,保護力最佳的是莫德納、諾瓦瓦克斯及輝瑞,其次分別為俄國衛星五號疫苗、AZ與嬌生,最後則是中國科興疫苗。
蛋白質重組技術過去曾用在B型肝炎與百日咳疫苗。台大醫院小兒感染科醫師李秉穎曾表示,蛋白疫苗不會像mRNA或腺病毒到處跑,該疫苗透過肌肉注射讓局部產生免疫反應,不會有過敏性休克或血栓等副作用;此外,蛋白質的物性比mRNA穩定許多,因此無須特殊冷鏈要求[1]、[2]。
■蛋白質疫苗的優缺點,和關鍵技術
蛋白質疫苗的目的,是讓「白血球看到『關鍵的』蛋白質」。在三十多年前,用純粹的病毒蛋白質做為抗原的首款疫苗-B 型肝炎疫苗上市。
相較於常聽到的 mRNA(如:莫德納)、腺病毒載體(如:牛津 AZ)、去活性(如:科興)疫苗等,使用純粹的蛋白質做為疫苗,有以下優點:
►使用歷史悠久
▪蛋白質疫苗開發至今,已累積了三十多年以上的接種經驗。
▪如我們熟悉的「B 肝疫苗」、「子宮頸癌疫苗」等。相較於 mRNA、腺病毒載體疫苗,蛋白質疫苗在臨床熟悉或民眾信任度上,更讓人放心。
►友善保存環境
▪蛋白質疫苗僅需 4℃ 保存。
▪相較於需要低溫冷鏈的 mRNA 疫苗,保存與運輸條件更便利。
►沒有血栓副作用風險
▪已知腺病毒載體疫苗(如牛津 AZ)有一罕見但致命的副作用:「血栓併血小板低下症候群(Thrombosis with Thrombocytopenia Syndrome, TTS)」。目前推測可能是由疫苗外洩之負電的核酸所引起,而蛋白質疫苗不含類似物質(帶負電之高分子),較無此疑慮。
►沒有整顆病毒的風險
▪歷史上曾發生幾件慘烈的疫苗事故,都與直接使用病毒的去活性有關。1955 年的美國,藥廠用整顆病毒製作小兒麻痺疫苗時,因為未能完全殺死病毒,也就是疫苗內仍有活病毒,結果導致 4 萬人染病、近兩百人癱瘓、10 名孩童死亡。蛋白質疫苗不使用整顆病毒,無此疑慮。
蛋白質疫苗也有天生的缺點:因為「不夠像病毒感染細胞」的過程,而產生的免疫力不足。所以此類疫苗中,有兩個關鍵成分:「抗原」及「佐劑(adjuvant)」。
►「抗原」讓白血球認識敵人
▪Novavax 疫苗抗原的特色,在於使用「修飾後穩定態的棘蛋白(spike protein)」。
▪從 2002 年的 SARS 後,科學家針對冠狀病毒累積了各類研究。他們發現,想對該病毒家族開發疫苗,「表面棘蛋白」是最好的抗原。
▪科學家可透過基因工程,讓細胞生產大量的目標蛋白質;大量的棘蛋白被生產,並黏著在奈米顆粒上,形成表面佈滿抗原的奈米粒子(30~40 nm)。而這種大小、仿似真實病毒的奈米粒子(virus-like nanoparticles, VLPs)設計,能誘使淋巴系統捕捉、進一步提升抗原被白血球吞噬、辨認的效果。
►「佐劑」模仿微生物入侵的信號,激發更強烈的抗體反應
▪Novavax 的佐劑(Matrix-M™)則使用了樹皮裡的東西。
▪皂樹(Quillaja saponaria)的樹皮萃取物:皂苷(Saponin),它能讓局部組織發炎、受損,模仿病原體入侵人體的反應,呼喚更多的免疫細胞到達現場、吞噬更多抗原[3]。
■次單位疫苗 ─「重組蛋白疫苗」
次單位疫苗是最近幾十年發展出來的技術,「次單位」意為只取病原體一部分結構製成疫苗。
作法有兩種:
▪一種天然的次單位疫苗,直接培養病毒再取出病原體一部分毒素,純化減毒後做疫苗。
▪另外一種是重組的次單位疫苗,又稱重組蛋白疫苗,這次國內3家疫苗廠,國光生技、高端疫苗及聯亞生技,研發的新冠疫苗即是「重組蛋白疫苗」。
「國家衛生研究院感染症與疫苗研究研究員暨生物製劑廠」劉士任 執行長解釋,所有的生物體包括病毒及細菌都有基因,也就是DNA,DNA製造RNA、RNA製造蛋白質,病毒或細菌外殼有很多不同表面蛋白,重組蛋白疫苗就是在病毒外殼的蛋白中,篩選出所需的病原蛋白質,以基因工程的技術,將蛋白質的DNA序列植入細胞培養,使細胞長出病毒蛋白質加以純化,再製成疫苗打入人體,讓免疫系統經由偵測到病毒蛋白產生免疫反應。
現在的B型肝炎疫苗跟HPV(人類乳突病毒)疫苗,都是用重組蛋白的技術來製成疫苗。但蛋白質純化需要時間,而且不同蛋白質純化技術不一樣,開發蛋白質疫苗需較長時間[4]。
■因應未來新興傳染病,長期備戰才是正解
冠狀病毒與流感病毒同屬RNA病毒,流感病毒由8條、冠狀病毒由1條RNA組成,它們的複製過程由於缺乏校對機制,容易累積突變。中研院基因體研究中心研究員馬徹分析,這就是RNA病毒如此善變難搞的原因,連研究了百年的流感,到現在都還找不到萬用疫苗預防或萬靈丹治療,更遑論是人類還很陌生的冠狀病毒,不過相關領域的科學家仍持續在努力。
新冠肺炎全球大流行,甚至有流感化趨勢,馬徹語重心長地說,這是全世界要一起面對的問題,大家不必過度恐慌!新冠肺炎不會是人類最後一個面對的新興傳染病,說不定10年後又有新疫情爆發,任何國家都要長期投資備戰,對於新興傳染病的相關研究是「養兵千日,用在一時」[5]。
【Reference】。
1.來源
➤➤資料
∎[1] (自由時報)「高端二期解盲成功》技術同門Novavax」:https://ec.ltn.com.tw/article/paper/1454103
∎[2] (自由時報)「諾瓦瓦克斯疫苗 保護力逾9成」:https://news.ltn.com.tw/news/world/paper/1454747
∎[3] (PanSci 科學新聞網)「Novavax 疫苗的優缺點?蛋白質疫苗的關鍵技術!」:https://pansci.asia/archives/323206
∎[4] (康健雜誌)「台灣新冠疫苗最快3月到貨,5張圖看懂疫苗怎麼做」:https://www.commonhealth.com.tw/article/83548
∎[5] (科技大觀園)「檢測、治療、疫苗——科學家抗疫總動員」:https://scitechvista.nat.gov.tw/Article/C000003/detail?ID=8800cc8c-085a-40b3-a127-98437cb071ad
➤➤照片
∎(康健)「台灣新冠疫苗最快3月到貨,5張圖看懂疫苗怎麼做」:https://www.commonhealth.com.tw/article/83548
∎「Vaccinating health and care staff」:
https://content.govdelivery.com/accounts/UKDEVONCC/bulletins/2b3f58d
2. 【國衛院論壇出版品 免費閱覽】
▶國家衛生研究院論壇出版品-電子書(PDF)-線上閱覽
https://forum.nhri.org.tw/publications/
3. 【國衛院論壇學術活動】
▶https://forum.nhri.org.tw/events/
#國家衛生研究院 #國衛院 #國家衛生研究院論壇 #國衛院論壇 #衛生福利部 #蛋白質疫苗 #高端疫苗 #諾瓦瓦克斯 #Novavax #蛋白質次單位技術 #基因重組蛋白技術
衛生福利部 / 疾病管制署 / 疾病管制署 - 1922防疫達人 / 財團法人國家衛生研究院 / 國家衛生研究院-論壇
Nature Medicine
nih syndrome 在 Drama-addict Facebook 的最佳貼文
คนไทยที่กลับมาจากอู่ฮั่น หากมีอาการผิดปรกติขอให้แจ้ง จนท ตามความเป็นจริงนะครับ
ปล ปีหนูนี่แม่งดุเป็นบ้า ผ่านปีใหม่มาไม่กี่วันมีแต่ข่าวสั่นสะเทือนทั่วโลก
BBC เตือนทั่วโลก+กระทรวงสาธารณสุขไทยประกาศเฝ้าระวัง.
..ไวรัสยังไม่ทราบชนิดทำให้เกิดปอดอักเสบรุนแรงที่จีน คล้ายไวรัส SAR
สรุปสถานการณ์โรคปอดอักเสบสงสัยจากSARS ประเทศจีน 3 มกราคม 2563
กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
จากการรายงานข่าวของสานักข่าวหลายแห่ง
พบผู้ป่วยโรคปอดอักเสบ จากเชื้อไวรัส ที่อาจมีความ เช่ือมโยงกับ SARS (Severe Acute Respiratory Syndrome) ในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ ทางตอนกลางของ ประเทศจีน
ในเดือนธันวาคมที่ผ่านมา จานวน 27 ราย ซึ่งมีอาการรุนแรงจำนวน 7ราย
โดยมีอาการไข้ บางราย มีอาการหายใจไม่สะดวก ทุกรายมีการแยกรักษา และยังไม่มีรายงานการแพร่เชื้อจากคนสู่คน
ซึ่งผู้ป่วยมี ความสัมพันธ์กันคือประวัติการไปตลาดอาหารทะเล
ซึ่งนอกจากอาหารทะเลแล้วยังมีการขายทั้งแมว สุนัข งู และสัตว์ป่าอื่นๆด้วย
ท้ังนี้สาเหตุอยู่ระหว่างการสอบสวนโรค ขณะเดียวกันมีรายงานข่าวผู้ป่วยโรคปอดอักเสบ ท่ียังไม่สามารถระบุสาเหตุได้ในฮ่องกงจานวน 2 ราย ซึ่งเดินทางไปเมืองอู่ฮั่น
รายแรกมีไข้ และอาการของ ทางเดินหายใจส่วนบน ตรวจไม่พบ SARS ไข้หวัดใหญ่ หรือไข้หวัดนก ไม่มีประวัติไปตลาดสด
รายท่ีสองไม่มี ไข้ หรืออาการปอดอักเสบ
สาหรับประเทศจีน เคยมี SARS ระบาดเมื่อปี 2546 ซึ่งทาให้มีผู้เสียชีวิตถึง 349 ราย และในฮ่องกง อีก 299 ราย และมีผู้ติดเชื้อโลกมากถึง 8,000 ราย
นอกจากน้ีในประเทศจีนยังพบการรายงานการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนก
ตั้งแต่ปี 2556 ทั้งหมด 5 สายพันธ์ุ ได้แก่ H7N9 H9N2 H7N4 H5N1 และ H5N6 ได้แก่
ไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9 มีการระบาด เมื่อเดือนมีนาคม 2556 มีผู้ป่วยยืนยัน 1,568 ราย เสียชีวิต 615 ราย มีการระบาดทั้งส้ิน 6 ระลอก
สำหรับปี 2562
(ข้อมูล ณ วันท่ี 12 ธันวาคม)
พบผู้ป่วยยืนยัน 1 ราย เป็น ชายอายุ 82 ปี เริ่มป่วยเมื่อวันท่ี 18 มีนาคม 2562 รายงานจากมณฑลกานซู่ ประเทศจีน แต่ผู้ป่วยน่าจะสัมผัส โรคจากพ้ืนท่ีในเขตปกครองตนเองมองโกเลีย
ไข้หวัดนกสายพันธ์ุ H9N2 พบผู้ป่วยยืนยันปี 2558 28 ราย
ปี 2561 มีรายงานผู้ป่วยยืนยัน 7 ราย และ ปี 2562 พบผู้ป่วยยืนยันโรคไข้หวัดนกสายพันธ์ุ H9N2 8 ราย (จากจีน 6 ราย โอมาน 1 ราย และอินเดีย 1 ราย)
สำหรับไข้หวัดนกสายพันธ์ุ H7N4 พบผู้ป่วยยืนยันราย สุดท้ายเดือนกุมภาพันธ์ 2561 1 ราย
ไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5 ในปี 2557 มีผู้ป่วยยืนยันไข้หวัดนกสายพันธ์ุ H5N6 24 ราย เสียชีวิต 7 ราย รายล่าสุดป่วยเม่ือวันที่ 18 สิงหาคม 2562 เป็นหญิง อายุ 59 ปีจากปักก่ิง และไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N1 ซ่ึงเกิดการระบาดในปี 2546 มีผู้ป่วย 861 ราย เสียชีวิต 455 ราย ในปี 2562 มีผู้ป่วยยืนยัน 1 ราย จากประเทศเนปาล
ประเทศไทย ไม่เคยมีการระบาดของ SARS แต่มีบินมารักษาเมื่อปี 2546
แต่มีผู้ป่วยไข้หวัดนก ในปี 2547-2549 จานวน 25 ราย
เสียชีวิต 17 ราย
สาหรับไข้หวัดใหญ่ ในปี 2562
(1 มค.- 24 ธค 62) จากรง 506 มีผู้ป่วย 378,881 ราย เสียชีวิต 29 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 571.45 ต่อประชากรแสนคน CFR=0.01%
เมื่อเปรียบเทียบพบว่า สูงกว่าจานวนผู้ป่วยปีท่ีแล้วและค่ามัธยฐาน 1.6 เท่า ส่วนใหญ่พบไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ เอ
ถึงแม้ประเทศไทยสามารถป้องกันการแพร่กระจายของ SARS ได้สาเร็จเมื่อปี 2546 แต่เคยมีการ ระบาดของไข้หวัดนก และมีควบคุมโรคจนสาเร็จ และ มีระบบเฝ้าระวังมาโดยตลอด
แต่ในสถานการณ์ ปัจจุบันประเทศจีนยังพบไข้หวัดนก และมีผู้ป่วยสงสัย SARS และมีนักท่องเที่ยวจีน หรือต่างชาติที่เดินทาง ระหว่างไทย จีน มีจำนวนมากขึ้น ทำให้มีความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อเข้ามาเมืองไทยได้ง่ายกว่าเมื่อการ ระบาดครั้งก่อน
และจากข้อมูลสายการบินจากเมืองอู่ฮั่น มายังสนามบินสุวรรณภูมิ พบว่ามีหลายสายการบินที่ ทำการบินอยู่ ทั้งสนามบินสุวรรณภูมิ คือ China Southern Airline จานวน 4เที่ยวและ Maldivian จานวน 1เที่ยว
ผู้โดยสารประมาณ 170 คนต่อเที่ยว และสนามบินดอนเมืองคือ Thai Air Asia จานวน 2 เที่ยว
ผู้โดยสารเที่ยวละ 160 คน สรุป มีผู้โดยสารที่เสี่ยงจานวน 1170 คนต่อวัน เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับการพบ ผู้ป่วยสงสัย SARS ในประเทศจีน และโอกาสพบผู้ป่วยโรค SARS ในประเทศไทยจากการเดินทางเข้ามาทาง สนามบินดอนเมือง สุวรรณภูมิ เชียงใหม่ และสุราษฎรธานี
พบว่ามีโอกาสในการพบผู้ป่วยเพียงร้อยละ 2 (จาก โปรแกรม Insight) แต่อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยยังมีความเสี่ยงในการท่ีจะมีการแพร่กระจายเชื้อ SARS เข้ามาได้
จึงควรกำหนดมาตรการในการควบคุมอย่างเข้มข้น
มาตรการป้องกันของประเทศไทย มีการกำหนดให้ SARS เป็นโรคติดต่ออันตราย ท่ีต้องมีการเฝ้า ระวังรายงานสอบสวนและควบคุมโรคอย่างเข้มข้น
กำหนดมาตรการเฝ้าระวังในผู้ป่วยสงสัยทั้งการเฝ้า ระวังในผู้ป่วยโรคปอดอักเสบ
การเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ การเฝ้าระวังในด่านควบคุมโรคของท่าอากาศ ยาน มีการเตรียมความพร้อมทางห้องปฏิบัติการ การเตรียมความพร้อมของทีมควบคุมโรคติดต่ออันตราย ดัง ตาราง และ รายละเอียดดังนี้
1. แนวทางในการเฝ้าระวัง และสอบสวนโรค SARS ดังตาราง
2. การเฝ้าระวังจากนักท่องเที่ยว ท่ีเดินทางมาจากเมืองเมืองอู่ฮั่น ซึ่งมีสายการบินจากเมืองอู่ฮ่ัน มายัง สนามบินสุวรรณภูมิ และดอนเมืองหลายเที่ยวบิน ซ่ึงดาเนินการคัดกรองโดยด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ
3. การเตรียมพร้อมของทีมสอบสวนโรคติดต่ออันตราย ของทุกจังหวัด และในส่วนกลางเตรียมไว้ ท้ังหมด 8 ทีม
4. การสื่อสารความเส่ียงสาหรับประชาชนที่เดินทางไปต่างประเทศ เพ่ือป้องกันตนเอง รวมทั้งผู้ท่ี เดินทางกลับเข้าประเทศไทยเพื่อเฝ้าระวังอาการ
11. โรคซาร์ส
พื้นที่ที่พบ การระบาดของโรค
ประเทศที่พบการ ระบาดของโรคล่าสุด
สถานท่ีกักกัน ผู้สงสัย/ผู้ป่วย
สถานทสี่ ง่ ตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ
อาการ
ประวัติปัจจัยเสี่ยง
ผู้ป่วยที่มีอาการตามเกณฑ์ ดังนี้ กรณีที่ 1 ผู้ป่วยที่มีไข้ตั้งแต่ 38
องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับ
ไอ หายใจเหนื่อย หรือ หายใจลาบาก
กรณีที่ 2 ผู้ที่เสียชีวิตจากโรคติดเชื้อ ทางเดินหายใจเฉียบพลันที่
หาสาเหตุไม่ได้
ร่วมกับ มีประวัติในช่วงเวลา 10 วันก่อนวันเริ่มป่วย อย่างใดอย่าง หนึ่งต่อไปนี้
: มีประวัติใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่สงสัย
การติดเชื้อโรคซาร์ส
: เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดหรือ
เขตติดโรคโรคซาร์ส
: อาศัยอยู่ในพื้นที่ระบาดหรือ
เขตติดโรคโรคซาร์ส
: สัมผัสสัตว์ที่เป็นแหล่งรังโรค
ซาร์ส เช่น ชะมด
: พ.ศ. 2546 พบผู้ป่วยในประเทศ จีน
ฮ่องกง สิงคโปร์ และหลาย ประเทศ
ในยุโรป ที่มีประวัติเดินทางไป
ประเทศจีนและฮ่องกง หลังจาก นั้น
ไม่มีการรายงานผู้ป่วยรายใหม่
: จีน
(เมษายน 2546)
PUI: ห้องแยกความดัน ลบ โรงพยาบาลของรัฐ ในท้องที่ Confirmed: ห้อง แยกความดันลบ ระดับ เขต หรือ ระดับกรม
Lab centers:
- Thai NIH (Real-time RT-PCR) - TRC-EID
(1. Real-time RT- PCR 2.Conventional RT-PCR + sequencing)
Samples:
Respiratory tract swab/sputum
Other tests:
Endemic and novel pathogen such as AI or novel influenza
เรียน ท่านผู้ตรวจฯ, นพ.สสจ. และ ผอ.รพศ./รพท.
ขณะนี้พบการะบาดของโรคปอดบวมชนิดรุนแรงโดยยังไม่ทราบสาเหตุที่ประเทศจีน แถบเมืองอู๋ฮั่น
(ตามไฟล์ที่แนบมา)
กรมควบคุมโรคได้ออกมาตรการเพื่อเตรียมการป้องกันและควบคุมการระบาดหากพบโรคนี้ โดยเพิ่มการเฝ้าระวังโรค (เช่น ติดตั้ง thermo scan, การคัดกรองโรค, การให้ข้อมูลแก่ผู้เดินทางไปยังเมืองที่พบการระบาด) ณ ช่องทางเข้าออกประเทศโดยเฉพาะช่องทางสนามบินที่มีสายการบินตรงจากประเทศจีน (โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากเมืองอู๋ฮั่น)
และติดตามข่าวการระบาดจากต่างประเทศอย่างใกล้ชิด
โดย กรม คร. ได้เปิด EOC โดยมี ผอ.กองโรคติดต่อทั่วไปเป็น IC ส่วนของ สคร./สสจ./รพ. ให้เตรียมพร้อม PPE, ยาต้านไวรัส flu
, รวมถึงเวชภัณฑ์อื่นที่จำเป็น และ เตรียมพร้อมห้อง negative pressure , ทีมสอบสวนโรคติดต่ออันตรายร้ายแรง
จึงเรียนมาเพื่อโปรดเตรียมความพร้อมของผู้ที่เกี่ยวข้องต่อไปครับ หากมีข้อมูลใดเพิ่มเติม จะนำเรียนให้ทราบต่อไป
Cr กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
China pneumonia outbreak: Mystery virus probed in Wuhan
https://www.bbc.co.uk/news/world-asia-china-50984025
nih syndrome 在 What is Not-invented-here Syndrome? [Definition and Example] 的推薦與評價
Get the paperbacks or the FREE audiobooks with the links below:Buy the Books on Amazon US - Art of Thinking Clearly ... ... <看更多>