อันนี้น่าสนใจทีเดียวครับ เห็นสำนักข่าวต่างประเทศหลายสำนักแล้ว ที่พูดถึง แต่ในไทยเรา ยังไม่ค่อยเห็นใครพูดถึงเท่าไหร่เลย โดยเฉพาะทางสายสาธารณสุข
คือ ผลจากที่เราพยายามจะล็อกดาวน์ ป้องกันการแพร่ระบาดโรค covid โดยเฉพาะการที่ไม่ให้ "เด็กๆ" ออกนอกบ้าน ไปเรียนหนังสือ หรือทำกิจกรรมกับคนอื่น มาปีกว่าแล้วนี้ ... กลับเกิดผลเสียทางอ้อม ที่คาดไม่ถึงกัน
คือทำให้ขาดโอกาสในการที่เด็กๆ จะได้รับเชื้อโรคต่างๆ เช่น RSV ไปบ้าง ซึ่งปกติในแต่ละปี เด็กจะต้องเจอเชื้อพวกนี้ เพื่อให้มีภูมิคุ้มกันเกิดขึ้นตามธรรมชาติ
เลยกลายเป็นว่า เด็กๆ เริ่มมีจำนวนที่ป่วยจากเชื้อโรคต่างๆ ที่แพร่ระบาดในเด็กแต่ละปี "มากขึ้นอย่างผิดปกติ" ในปีนี้
ซึ่งไทยเราเองก็เตรียมตัวรับมือได้เลยนะครับ โดยเฉพาะในฤดูหนาวนี้ ที่จะมีการแพร่ระบาดของโรคมากขึ้น เพราะเราก็ล็อคเด็กไว้ในบ้านมาเป็นแรมปีเหมือนกัน
เนื้อหาข่าวต้นทางมาจาก BBC thai เลยขอเอามาแปะเพิ่มเติมด้านล่างนี้นะครับ
------
(บางส่วนของรายงานข่าว จาก บีบีซีไทย)
ผลจากการที่ผู้คนใช้มาตรการป้องกันโรคโควิด เช่น การเว้นระยะห่างทางสังคม การสวมหน้ากาก และการล้างมือสม่ำเสมอ ยังช่วยลดการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสชนิดอื่น ๆ เช่น ไข้หวัดใหญ่ ด้วย
ทว่าในเดือน มี.ค. กลับพบเด็กและทารกที่มีอาการไอเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้น โดยเด็กที่มีอาการหนักบางคนมีอาการหายใจลำบาก
เด็กเหล่านี้ติดเชื้อไวรัสมวลเซลล์รวมระบบหายใจ หรือ ไวรัสอาร์เอสวี (respiratory syncytial virus หรือ RSV) ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสที่ก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับปอด และพบได้บ่อยในช่วงฤดูหนาว ซึ่งตามปกติในช่วงเดือน มี.ค. ยอดเด็กติดเชื้อชนิดนี้มักเริ่มลดลงแล้ว แต่มันกลับพุ่งสูงขึ้นผิดปกติในปีนี้
ในช่วงหลายเดือนต่อมา ไวรัสอาร์เอสวีนอกฤดูกาลได้สร้างความวุ่นวายให้โรงพยาบาลหลายแห่งในช่วงฤดูร้อน โดยพบการระบาดสูงผิดปกติทั้งในตอนใต้ของสหรัฐฯ สวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น และสหราชอาณาจักร
แพทย์หลายคนเชื่อว่าพฤติกรรมที่ผิดแปลกไปของไวรัสชนิดนี้น่าจะเป็นผลทางอ้อมที่เกิดจากการระบาดของโควิด-19 เนื่องจากเมื่อปีที่แล้ว การใช้มาตรการล็อกดาวน์ และการรักษาสุขอนามัยเพื่อสกัดการแพร่ระบาดของโควิดนั้น ได้ส่งผลต่อเชื้อไวรัสชนิดอื่น ๆ ด้วย รวมถึงไวรัสอาร์เอสวี ด้วยเหตุนี้เด็กจึงไม่มีโอกาสได้สัมผัสเชื้อโรคเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกาย
เมื่อมาตรการป้องกันโรคระบาดเริ่มผ่อนคลายลง เด็กจำนวนมากที่มีภูมิคุ้มกันอ่อนแอต่อไวรัสอาร์เอสวีจึงมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ยอดผู้ติดเชื้อโรคชนิดนี้พุ่งทะยานขึ้นในช่วงเวลาที่คาดไม่ถึง
เชื้อโรคที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นเชื้อที่คาดเดาแนวโน้มได้ง่าย จึงอาจสร้างความประหลาดใจให้โรงพยาบาลและครอบครัวที่มีเด็กเล็กได้ทุกเวลา
การระบาดนอกฤดูกาลของไวรัสอาร์เอสวียังทำให้โรงพยาบาลมีผู้ป่วยเด็กล้น อีกทั้งยังทำให้เห็นว่าการระบาดของโควิด-19 และการใช้มาตรการควบคุมโรคต่าง ๆ ได้ส่งผลต่อโลกของเรามากเพียงใด
ในช่วงที่ไวรัสอาร์เอสวีระบาดรุนแรงที่สุดในช่วงต้นเดือน เม.ย. เด็กส่วนใหญ่ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตที่โรงพยาบาลนี้เป็นผู้ติดเชื้อไวรัสอาร์เอสวี
เด็กในอีกหลายประเทศก็เผชิญการระบาดนอกฤดูกาลของไวรัสอาร์เอสวีเช่นกัน
นพ. คริสโตเฟอร์ แบร์เกอร์ หัวหน้าแผนกโรคติดเชื้อและระบาดวิทยาในโรงพยาบาลที่โรงพยาบาลเด็กมหาวิทยาลัยซูริก ในสวิตเซอร์แลนด์ ระบุว่า "มันทำให้เราประหลาดใจ เรารู้ว่ามันเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวัง แต่ก็คิดไม่ถึงว่าจะมีผู้ป่วยมากขนาดนี้"
นพ. คริสโตเฟอร์ แบร์เกอร์ เล่าถึงช่วงที่มีผู้ป่วยสูงสุดในเดือน ก.ค. ว่าเตียงที่โรงพยาบาลเต็มจนต้องส่งเด็กและทารกที่ติดเชื้ออาร์เอสวีไปรักษาในโรงพยาบาลที่ยังพอมีเตียงว่าง
ในช่วงดังกล่าวมีโรงพยาบาลอื่นอีก 7 แห่งในสวิตเซอร์แลนด์ที่เผชิญสถานการณ์เดียวกับโรงพยาบาลที่ นพ. แบร์เกอร์ทำงานอยู่ และสามารถพูดได้ว่า ไวรัสอาร์เอสวีกลายเป็นปัญหาใหญ่กว่าโควิด-19 สำหรับพวกเขาในช่วงฤดูร้อนที่ผ่านมา "โรงพยาบาลเราแทบไม่มีผู้ป่วยโควิดเลยในช่วงนั้น" เขากล่าว
ราว 1-2% ของทารกที่ติดเชื้ออาร์เอสวีจะป่วยหนักจนต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล และได้รับออกซิเจนโดยการสวมหน้ากาก หรือใช้สายให้ออกซิเจนทางจมูก เด็กบางคนอาจต้องใช้สายให้อาหาร ซึ่งหลังจากใช้วิธีเหล่านี้เด็กส่วนใหญ่จะมีอาการดีขึ้นภายใน 2-3 วัน
ก่อนที่โควิด-19 จะระบาด โรงพยาบาลต่าง ๆ มักเตรียมความพร้อมรับมือกับไวรัสอาร์เอสวีก่อนจะเข้าสู่ฤดูหนาว โดยคนไข้กลุ่มเสี่ยงที่สุด เช่น ทารกคลอดก่อนกำหนด และเด็กที่มีโรคประจำตัวเกี่ยวกับปอดและหัวใจอาจได้รับการปกป้องจากโรคนี้ด้วยการฉีดวัคซีน palivizumab เพื่อต้านเชื้อไวรัสอาร์เอสวี โดยจะต้องได้รับวัคซีนชนิดนี้ในทุกเดือนที่มีไวรัสอาร์เอสวีระบาด นี่จึงเป็นอีกเหตุผลหนึ่งว่าทำไมการเตรียมตัวรับมือกับการเพิ่มขึ้นของโรคจึงสำคัญมาก
อย่างไรก็ตาม การระบาดของโควิดได้ไปรบกวนวงจรการเกิดโรคตามฤดูกาลของไวรัสอาร์เอสวี รวมถึงบทบาทตามปกติของมันในการพัฒนาระบบภูมิคุ้มกันของเด็ก
พญ. อากาห์ จากโรงพยาบาลเด็กไมมอนิดีส บอกว่า มาตรการป้องกันโควิด ทำให้ไวรัสอาร์เอสวีไม่ได้แพร่ระบาดไป 1 ฤดูกาล ส่งผลให้เด็กไม่ได้สัมผัสกับเชื้อเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรคนี้ และแม่ก็ไม่ได้สร้างภูมิคุ้มกันที่สามารถส่งผ่านไปสู่ลูกน้อยได้
ด้วยเหตุนี้จึงทำให้เด็กมีความเสี่ยงต่อไวรัสอาร์เอสวีมากเป็นพิเศษเมื่อประเทศต่าง ๆ เริ่มคลายล็อกดาวน์และผู้คนเริ่มกลับมาใช้ชีวิตตามปกติอีกครั้ง
จาก https://www.bbc.com/thai/international-58570983
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
palivizumab 在 黑眼圈奶爸Dr. 徐嘉賢醫師 Facebook 的最讚貼文
秒懂:呼吸融合病毒
最近有許多朋友來信詢問關於呼吸融合病毒的問題,也在媽媽社團上面看到相關的(慘痛)經驗分享文。借這個機會跟大家講解一下什麼是「呼吸融合病毒」。
呼吸融合病毒他是一個存在已久的老病毒,並非「新人」。在幼兒時期特別容易得到,尤其是在5歲以下的孩子。
每年的秋天到冬天,是最容易看到他的蹤影的時間。
一旦得到,症狀會很像氣喘,氣喘吁吁,呼吸咻咻聲,咳嗽,部分會發燒。
輕則引發細支氣管發炎,一兩個禮拜之內改善,重則嚴重起來會引發肺炎。
若本身有氣喘的孩子或成人,如果得到他的話,很容易引發氣喘發作。
對於早產兒或本身有心臓或肺部先天性疾病、慢性肺部疾病的小嬰兒來說,是一個蠻重要的威脅、甚至會致命。
預防方面,不外乎戴口罩多洗手。
至於醫療方面,之前就有單株抗體Palivizumab可以作為預防施打。但是健保給付的對象有他的規範,並不是每個人都能夠符合。而且需要打好幾次。若自費的話,價格會非常可觀。
現在有一種新的單株抗體發展出來,可以不用施打好幾次,只要打一次,就可以撐一年。
另外至於「疫苗」方面,最近有研究報告出來,是施打在「孕婦」身上,以作為保護「嬰兒」的作用。初步看起來效果不錯。
而這兩種新的預防方法,目前還沒有上市,但是相信將來應該可以造福更多高危險群的小嬰兒和兒童
正當全球的焦點,都放在新型冠狀病毒的疫苗研發進度上面,提供一些其他疫苗的資訊給大家知道。
#左手戴口罩_右手按追蹤我的instagram📸 https://instagram.com/drblackeye
#加入奶爸的line👉: https://lin.ee/jqV1CdD
palivizumab 在 明太子小姐生活旅遊日記 Facebook 的精選貼文
#媽媽的脆弱與堅強
星期六晚上,護士正在幫小枝豆拍痰抽痰。
雖然已經和自己約定好,當了媽媽就要更堅強的。但是看到他大哭,我眼淚也忍不住撲簌。
星期一體溫高到37.9度,看了醫生說雖然有鼻塞小咳嗽,但是肺部沒有雜音,拿了希普利敏液回家。從星期一開始我幫他試了抽鼻涕,蒸氣,星期三開始出現有痰咳嗽,到週五又前往小兒科就診,醫生說肺部出現雜音,建議我們轉診到大醫院拍X光做進一步檢查。
快篩出來的結果是「呼吸道融合病毒」導致的「細支氣管炎」。
以下是引用白袍旅人網站的資料:
引用網址:http://twkid.com/p/2245
在台灣,每年的 3-5 月份,與 8-10 月份,就是這隻病毒猖狂的季節。這隻病毒很喜歡侵犯呼吸道黏膜細胞,導致屬於下呼吸道的細支氣管發炎、水腫並且導致阻塞。而這個病毒有個很討厭的地方,就是他會干擾身體對他產生有效的免疫力。因為他的多醣蛋白(G protein)會持續的改變,讓免疫細胞不容易有效地針對他,所以這個疾病的病程,會比一般的感冒病毒來得長。
打個比方來說,這個病毒就像是一個奸詐的壞蛋,會持續的「變臉」,甚至變造他自己的「指紋」,讓警察不容易去圍捕他。
雖然有單株抗體(Palivizumab)可以使用(6個月以上嬰兒才能施打),但是這個單株抗體的保護力只能撐一個月,所以每個月都要施打,而一劑費用要將近兩萬元,故不建議一般健康的孩子使用。目前僅保留給患有慢性肺部疾病的早產兒、28周以下的早產兒與某些心臟病患者使用。
(以上Quoted from白袍旅人)
當媽媽之前我從來沒有聽過這病毒,一邊查資料一邊覺得擔心又自責了起來,昨天小枝豆才剛滿兩個月。查到的資料說如果兩歲以下感染這個病毒將來會有氣喘發作的可能,問了醫生,醫生說是有這個可能性,所以將來出院後就要更小心,除了接觸嬰兒之前一定要非常認真的洗手清潔外,還要注意不要讓嬰兒接觸到香菸或是香等會誘發過敏的元素。
因為病毒可能來自於與嬰兒接觸過的大人,我從上週開始有感冒症狀,所以最有可能是我傳染給了小枝豆(超級自責)。加上雖然知道嬰兒免疫力低,不適合進出擁擠的公共場所,但小枝豆在出生不久後便被診斷出斜頸問題,所以從做月子期間開始就必須帶他去醫院做復健治療,頻率是一週4次。所以進出醫院的頻率很高,究竟在哪邊感染到病毒真的無從追查起。
剛剛從醫院回家路上,不停想到如果將來他真的氣喘發作,我一定會自責而死。但是仔細想了想,雖然外面病毒那麼多,而且每天都不停地在變種進化,難道將來我就都不讓孩子出門了嗎?那我不就會變成那種因為太擔心孩子,而不讓孩子出門的控制狂媽媽,這樣是不是有種因噎廢食的感覺呢?
「所以妳是不是當了媽媽才開始心臟變強的呢?」
我問正握著方向盤,熟練地開著車的媽媽。
「對呀!生孩子前哪有這麼勇敢。」
「所以是每生一個,就變得更堅強嗎?」
「對啊!小孩就是讓媽媽練心臟的。」
我一直分不清楚生完小孩我是變得膽小還是勇敢了,人家說養小孩比生小孩還辛苦好幾倍這件事是真的,如果可以讓小孩不要生病,我願意再經歷十次生產的緊張或是代替他受苦。
今晚又再頓悟了一件事,媽媽的堅強與脆弱其實是分不開的。妳會因為孩子變得小心翼翼緊張兮兮,神經敏感到自己都不可思議。但是同時也會變得堅強,因為妳知道自己得做孩子的靠山。
本來一直思考要不要把這些事寫出來,但我相信一定有新手媽媽正在和我經歷同樣的心情。媽媽們的心就像是被拉得很細但是很有韌性的麵條,在孩子的成長路上還要經歷好多驚嘆號,也許還得在深夜流好多眼淚擔好多心,但媽媽的堅強一定也是會同步成長的。
希望小枝豆能快點健健康康的出院!身為媽媽的我也要堅強不能再軟弱了。
palivizumab 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
palivizumab 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
palivizumab 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
palivizumab 在 呼吸道細胞融合病毒感染預防建議 的相關結果
palivizumab prophylaxis among infants and young children at increased risk of hospitalization for respiratory syncytial virus infection. Pediatrics 2014;134: ... ... <看更多>
palivizumab 在 藥物資訊- 澄清綜合醫院CHENG CHING HOSPITAL - 平等院區 的相關結果
Palivizumab 可作用於RSV疾病高危險族群之幼兒病患,包括支氣管肺發育不全(BPD)嬰兒、早產兒(小於或等於35妊娠週)及患有血液動力學上顯著之先天性心臟病(CHD)幼兒族群 ... ... <看更多>
palivizumab 在 藥物介紹:Palivizumab | 新北市藥師公會 的相關結果
Palivizumab (Synagis®),中文名「西那吉斯」凍晶注射劑,劑型規格50 mg/vial,為一種人類免疫球蛋白(IgG1)單株抗體,可預防呼吸道融合病毒(respiratory syncytial ... ... <看更多>