โพสต์นี้ว่าด้วยเรื่องของ "น้ำหนักร่างกาย"
ที่ผมต้องมาพูดประเด็นนี้ เรื่องจากตอนนี้การป้องกันโรคดูจะเป็นเรื่องสำคัญไม่แพ้กับการรักษาโรคไปแล้ว ณ ตอนนี้ โดยเฉพาะโรคติดเชื้อต่างๆ
.
และหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้อาการต่างๆแย่ลงได้ นั่นก็คือ "ภาวะน้ำหนักเกิน" (overweight) นั่นเองครับ เพราะน้ำหนักที่เกินในระยะเวลานานๆจะทำให้ร่างกายมีปัญหาของเรื่องความดันโลหิตสูง เบาหวาน metabolic syndrome และอะไรตามอีกมากมาย ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงของอัตราการเสียชีวิตอย่างเห็นได้ชัด
.
น้ำหนักที่เกิน (overweight) นี้ ขอใช้นิยามเดียวกับคนทั่วไป คือ ไม่ได้มีสัดส่วนของกล้ามเนื้อที่มากกว่าปกติ เช่น คนเล่นกล้าม ที่น้ำหนักอาจจะเกินเกณฑ์มาตรฐานได้ โดยที่ทั้งๆที่สัดส่วนของร่างกายดูปกติ เพราะบางครั้งการวัดน้ำหนักตามเกณฑ์ BMI อาจจะทำให้เราพลาดในส่วนนี้ไปได้ แต่รายละเอียดตรงนี้อาจจะไม่จุดประสงค์ที่จะพูดกันในวันนี้ครับ
.
ผมอยากจะขอพูดเรื่องสิ่งที่เรียกว่า "ความอ้วน" เป็นหลักมากกว่า โดยไม่ได้พูดเรื่องน้ำหนักที่เกินเกณฑ์ตามประโยคข้างต้น เอาแบบให้เห็นภาพคือ เราอ้วน เราใส่กางเกงตัวเดิมไม่ได้ทั้งๆที่เราใส่ได้ น้ำหนักเราขึ้นมาหลายสิบกิโลกรัมในช่วงหลายปีที่ผ่านมาทั้งๆที่เราไม่ได้อยู่ในวัยที่เจริญเติบโตของร่างกายใดๆ หรือใครที่กำลังคิดถึงรูปร่างของเราเมื่อสักช่วงสมัยเรียนมหาวิทยาลัยอะไรประมาณนั้นครับ
.
ผมขอยกเนื้อหาบางส่วนมาจากหนังสือที่มีชื่อว่า "The Obesity Code" ของ Dr.Jason Fung ซึ่งมีเนื้อหาที่น่าสนใจ โดยขอสรุปใจความเนื้อหาไว้ดังนี้ครับ
.
หลายๆคนอาจจะเข้าใจว่า "ความอ้วน" มาจาก แคลอรี่ที่กินเข้าไป > แคลอรี่ที่ใช้ออกมา เช่น เราจะคิดว่า เพราะเรากินมาก แต่ออกกำลังกายน้อย นั่นทำให้เราอ้วน ซึ่งอาจจะไม่ถูกต้องซะทีเดียว เพราะจริงๆแล้วร่างกายมีการปรับระดับอัตราการเผาผลาญให้มากขึ้นหรือลดลงได้ตามพลังงานที่ร่างกายได้รับเข้ามา
.
Total Energy Expenditure ตัวย่อ TEE แปลว่า พลังงานที่ร่างกายได้เผาผลาญไปในวันนั้นๆ จะมาจาก 3 ส่วน คือ 70% มาจาก Basal metabolic rate ซึ่งร่างกายจะปรับขึ้นลงโดยอัตโนมัติ 10% มาจาก Thermic Effect of food ซึ่งก็คือพลังงานที่ต้องใช้ในการย่อยอาหารที่เรากินเข้าไป โดยโปรตีนจะใช้พลังงานมากที่สุด และ อย่างสุดท้าย 20% เป็น Physical Activity ของเรานั่นเอง นั่งดูทีวี เดินไปทำงาน เดินไปซื้อกาแฟ พลังงานที่ใช้จะอยู่ในส่วนนี้ ซึ่งถ้าสมมติว่าคนๆหนึ่งใช้พลังงานต่อวันคือ 2,000 Kcal เท่ากับ พลังงานที่เกิดจากกิจกรรมนั้นจะอยู่ที่ราวๆ 300-400 Kcal เท่านั้น ซึ่งไม่ใช่ประเด็นหลัก เพราะเรามีผลวิจัยมากมายที่ชี้ว่า ถ้าเรากินมากขึ้น พลังงานจะถูกเผามากขึ้นจาก (BMR + TEF ที่มากขึ้น)
.
การกินน้อยเพื่อลดน้ำหนัก (Caloric restriction) อาจจะได้ผลในช่วงแรก แต่ผลลัพธ์สุดท้าย ร่างกายจะปรับ BMR ให้ลดต่ำลงจากพลังงานที่เข้ามาน้อย เพราะร่างกายจะเข้าสู่โหมด starvation คือต้องสงวนพลังงานเอาไว้ใช้
.
ลองคิดภาพตามนะครับ ถ้าจริงๆแล้ว ร่างกายเราต้องใช้พลังงาน 2,000 kcal ต่อวัน แล้วเราทานวันละ 1,500 kcal ต่อวัน จนสุดท้ายร่างกายปรับ TEE มาเหลือ 1,500 kcal ต่อวัน นั่นแปลว่า Calories in - Calories out = 0 นั่นคือทางตันของน้ำหนักที่ลดแล้วใช่ไหมครับ ??? อันนี้คือจุดเริ่มต้นของ Yoyo effect ที่เราพยายามหลีกเลี่ยงนั่นเอง เพราะถ้าเรากินแค่วันละ 1,000 kcal ต่อวัน เราไม่สามารถทำได้ในระยะยาว เพราะร่างกายจะทรุดโทรมอย่างมาก จนสุดท้ายเราจะกลับมากินอย่างมากมาย และน้ำหนักจะขึ้นพรวดพราด และสิ่งที่เร็วร้ายที่สุดคือ การกู้ metabolic rate ให้กลับมาเท่าเดิม นั้นต้องใช้เวลานานมากครับ และนั่นถืงเป็นสาเหตุว่า ทำไมเวลาเกิน Yoyo effect แล้ว น้ำหนักถึงขึ้นอย่างรวดเร็ว และมักกลับขึ้นเกินน้ำหนักเดิมที่ก่อนตั้งใจลดน้ำหนักเสียอีก
.
จากบทสรุปด้านบน อาจจะบอกได้จริงๆแล้ว ความอ้วน ไม่ได้มาจาก แคลอรี่ แล้ว ความอ้วน มาจากอะไร???
.
เมื่อเราเริ่มต้นหาจุดกำเนิดของความอ้วนที่เกิดขึ้นทั่วโลก เราจะพบว่าความอ้วนของมนุษย์พึ่งมาเกินในช่วงหลังราวๆสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ก่อนหน้านี้ประวัติศาสตร์ของความอ้วนมีอยู่เพียงกลุ่มเฉพาะ ไม่ได้เป็นโรคระบาดเหมือนในปัจจุบัน โดยความอ้วนที่เกิดแบบชุกที่สุดจะเกิดในชาติตะวันตก โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา โดยเมื่อเราไปสังเกตว่าสิ่งใดที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในช่วงนี้ เราจะพบว่า "อาหาร" คือปัจจัยที่สำคัญที่สุด โดยอาหารที่ว่าก็คือ "บรรดาอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต + แป้ง" หรือ Fast food นั่นเอง ที่คนอเมริกันบริโภคกันอย่างมหาศาล แล้วตอนนี้เราจะเหมารวมว่า "แป้งหรือคาร์โบไฮเดรต" เป็นผู้ร้ายได้หรือไม่
.
ในขณะเดียวกันถ้าเราไปดูประเทศอย่างจีน หรือ ญี่ปุ่น ที่เรียกกว่ากินข้าวกันเป็นกระสอบในช่วงเวลาเดียวกัน ภาวะโรคอ้วนกลับไม่พบอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นผู้ต้องสงสัยที่เรากำลังหมายหัวอาจจะไม่ถูกต้องซะทีเดียว แสดงว่าต้องมีอะไรที่อยู่ในแป้งที่เรากำลังสงสัยอยู่
.
นั่นคือที่มาของคาร์โบไฮเดรตที่มีคำว่า unprocessed กับ processed นั่นเองครับ สิ่งที่คนอเมริกันกินประจำคือ processed carb หรือพวกบรรดาขนมปังเบอร์เกอร์ ขนมเค๊ก ในขณะที่คนเอเชียทาน ข้าวเจ้า หรือ unprocessed carb ความแตกต่างของการขัดสีแป้ง ทำให้พวกบรรดาใยอาหารต่างๆนั้นสูญหายไประหว่างการผลิตซึ่งถือเป็นจุดสำคัญที่สุดของเรื่องราว เพราะเมื่ออาหารที่ไม่มีกากใยย่อมดูดซึมได้ง่ายและเราจะทานได้มากกว่าปกติเพราะอิ่มยาก ในขณะที่อาหารที่มีกากใยทุกอย่างจะเกิดขึ้นในทางตรงกันข้าม ในคิดภาพ ระหว่างทานข้าวกล้อง กับ ขนมปัง ดูครับ จะเห็นได้ชัด
.
แต่ความแตกต่างที่มากที่สุดต่อ แป้ง 2 ชนิดนี้คือ ผลลัพธ์ของการกระตุ้นฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) นั่นเอง โดย processed carbohydrate จะทำให้อินซูลินหลั่งอย่างมากมาย เนื่องจากอินซูลินมีหน้าที่เก็บ กลูโคส (Glucose) หน่วยที่เล็กที่สุดของแป้งหลังจากผ่านการย่อยในระบบทางเดินอาหารเมื่อเข้าไปสู่ในกระแสเลือด โดยอินซูลินจะทำการเก็บกลูโคสไปไว้ในเซลล์เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดลง โดยที่ในขณะที่อินซูลินกำลังทำงาน สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นคือ ร่างกายจะปิดระบบการเผาผลาญพลังงานด้วยไขมันในทันที ร่างกายจะใช้โหมด energy storage แทน อินซูลินที่หลั่งกำลังบอกเราเรากำลังเอาอาหารเข้าไปสะสมนั่นเองครับ ซึ่งอาหารที่เป็น unprocessed carbohydrate จะเกิดในลักษณะที่ใกล้เคียงกันแต่ความชันของกราฟการหลั่งอินซูลินนั้นจะต่ำกว่าและชันน้อยกว่ามาก ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในร่างกายเลยไม่เหมือนกัน
.
เราพอจะมองเห็นแล้วใช่ไหมครับว่า จริงๆแล้วผู้ต้องสงสัยจริงคือใคร ณ ตอนนี้ มันไม่ใช่ แป้ง ไม่ใช่ข้าว แต่มันคือ "น้ำตาล" (sugar) นั่นเอง เพราะน้ำตาลทำให้อินซูลินหลั่งอย่างรวดเร็ว อธิบายให้เห็นภาพว่า ถ้าเรากินน้ำอัดลม 3 กระป๋อง (600 kcal) กับ การทานข้าวกล้อง 600 kcal เช่นเดียวกัน ตัวเลขพลังงานเท่ากัน แต่ความอ้วนที่เกิดขึ้นไม่เท่ากันแน่นอน
.
ทีนี้เราอาจจะบอกว่า ในเมื่อสุดท้ายแล้ว ไม่ว่าจะแป้งอะไรก็ตามก็ต้องย่อยเป็นกลูโคสอยู่ดี แล้วมันจะแตกต่างกันได้อย่างไร เราอธิบายได้ด้วยเรื่องของกราฟการหลั่งอินซูลินด้านต้นนั่นเองครับ ยิ่งร่างกายหยุดหลั่งอินซูลินได้เร็วเท่าไรคือกลับมาแตะเลข 0 ร่างกายเราก็จะเปลี่ยนโหมดพลังงานจากการเก็บ (storage) ไปเป็นการใช้นั่นเองครับ ซึ่งจริงๆโทษของคาร์โบไฮเดรต เราอาจจะโทษน้ำตาลไม่ได้ แต่เราต้องไปโทษที่ ระบบการขัดสีหรือปรุงแต่งอาหาร (process) มากกว่าครับ อะไรก็ตามที่มีรูปร่างแตกต่างจากธรรมชาติมากเท่าไร นั่นแปลว่ายิ่งผ่านการแปรรูปมามากเท่านั้น ในอีกนัยยะคือยิ่งทำให้อินซูลินหลั่งมากขึ้นนั่นเอง
.
ทวนอีกครั้งนะครับ คร่าวๆ
อินซูลิน (Insulin) หลั่งมาก ทำให้ ร่างกายอยู่ในสภาวะสะสมพลังงาน เปลี่ยน glucose ให้กลายเป็น triglyceride (fat) ลดการเผาผลาญไขมัน (lipolysis)
อินซูลิน ไม่หลั่ง ทำให้ ร่างกายอยู่ในสภาวะการใช้พลังงาน เกิดการเผาผลาญไขมัน (lipolysis) เกิดการสร้างกลูโคสใหม่จากไขมัน (gluconeogenesis)
.
ผลลัพธ์ของการทำให้อินซูลินหลั่งมากและหลั่งอยู่ตลอดระยะเวลาเป็นเวลานานๆ คืออะไรครับ นั่นคือ ภาวะการดื้ออินซูลิน (Insulin resistance) นั่นเอง และภาวะการดื้ออินซูลินคือจุดเริ่มต้นของปัญหาอีกทั้งปวงที่จะตามมา
.
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過2,210的網紅DJ Macky Suson,也在其Youtube影片中提到,Episode 5: CYCLING IN SINGAPORE TOUR WITH GOPRO HERO 9 Health benefits of regular cycling Health benefits of regular cycling Cycling is mainly an aer...
obesity rate 在 CheckCheckCin Facebook 的最佳解答
【天氣開始熱】又到減肥的季節
⭐減肥前要先知道自己有幾肥
⭐減肥亦宜先了解體質
#星期一踢走BlueMonday
你需要減肥嗎?
「個個都話自己肥,唔通個個都肥咩?」肥胖可以是客觀事實,亦可以是主觀感受,不少人為貪靚而減肥,但偏偏有真正肥胖人士卻忽略自己肥胖的事實,直至因肥胖而引致各種疾病才急於減肥,大家可以從以下3個方法客觀判斷你是否需要減肥,但當然如果是因為患病需要而要減磅的話,還是要聽從醫生意見最穩妥。
方法1:計算 BMI (body mass index)
BMI 即是身高體重指數,計算公式是【體重(公斤)÷ 身高(米)2】,成年人指數介乎18.5至22.9屬於正常範圍,指數低過18.5屬於過輕,23至24.9屬肥胖邊緣,25至29.9屬中度肥胖,而超過30屬高度肥胖。
方法2:看體脂率
體脂率是指人體內脂肪重量與體重的比例,對於30至50歲成年人而言,男性理想體脂為14-17%,超過25%屬肥胖;女性理想體脂為20-24%,超過30%屬肥胖。
方法3:看腰圍
腰圍可反映腹部脂肪積聚程度,一般亞洲成年人男性腰圍超過90厘米(約36吋)、女性腰圍超過80厘米(約32吋)便屬於中央肥胖。
留言或按讚👍🏻支持一下我們吧!❤️ 歡迎 Follow 我們獲得更多養生資訊。
Are you trying to lose weight?
“We tend to call ourselves fat, but are we really fat?” The definition of ‘fat’ can be both objective and subjective. Many people try to lose weight because they want to look good, but those with real weight issues tend to ignore it. These individuals only begin to work on their weight when their weight had taken a toll on their health.
Here are three methods we can use to find out if we need to lose weight, but of course, patients who need to lose weight because of certain illnesses should seek professional advice from doctors.
Method 1: BMI Calculation
BMI refers to the body mass index. It is calculated based on the formula of ‘kg/m2’ where kg is a person's weight in kilograms and m2 is their height in meters squared. Based on the index, 18.5-22.9 is the normal range, below 18.4 is underweight, 23-24.9 is slightly overweight, 25-29.9 is overweight, and above 30 is obese. These readings apply to adults.
Method 2: Refer to your body fat rate
The body fat rate refers to the ratio of total mass of fat and total body mass of an individual. For an adult aged between 30 and 50, the ideal body fat rate for a man is 14-17%; individuals with readings above 25% are considered obese. As for a woman, the ideal rate is 20-24%; individuals with readings above 30% are considered obese.
Method 3: Check your waistline
Our waistline can reflect the accumulated fats on our body. An Asian adult man whose waistline exceeds 90cm (or 36 inches) is considered obese, whereas an adult woman with a waistline of more than 80cm (or 32 inches) is considered to have suffered from abdominal obesity.
Comment below or like 👍🏻 this post to support us. ❤️ Follow us for more healthy living tips.
#男 #女 #我胖了
obesity rate 在 白白pai Facebook 的最佳貼文
🍔🍔🍔
體脂肪一直是每個人心中的困擾,就算是瘦瘦的人長期坐式生活、不運動與不良飲食習慣都非常有可能囤積過多體脂肪!
📍據統計台灣成人過重及肥胖盛行率高達45.4%,將近一半的人有肥胖問題。
📍比起健康體重者,肥胖者發生慢性疾病,包括糖尿病、代謝症候群及血脂異常的風險超過3倍,而發生高血壓、心血管疾病、膝關節炎及痛風也有2倍風險。
📚過去研究發現,當肥胖者減少5%以上體重,可以降低1-2倍與肥胖相關疾病風險。
🥪當你發現腹部及背部開始出現一圈一圈,夏天都不需要游泳圈時那你不得不開始認真正視這個問題了🧐
🏋🏻♀️快點動起來,不要再讓腰邊肉溢出來!
#體脂肪 #肥胖 #肥胖症 #體脂率 #身體組成 #腰圍 #坐式生活 #慢性疾病 #運動 #訓練 #Body fat #obesity #body fat rate #body composition #waist circumference #sitting life #chronic disease #exercise #training
obesity rate 在 DJ Macky Suson Youtube 的精選貼文
Episode 5: CYCLING IN SINGAPORE TOUR WITH GOPRO HERO 9 Health benefits of regular cycling
Health benefits of regular cycling
Cycling is mainly an aerobic activity, which means that your heart, blood vessels and lungs all get a workout. You will breathe deeper, perspire and experience increased body temperature, which will improve your overall fitness level.
The health benefits of regular cycling include:
increased cardiovascular fitness
increased muscle strength and flexibility
improved joint mobility
decreased stress levels
improved posture and coordination
strengthened bones
decreased body fat levels
prevention or management of disease
reduced anxiety and depression.
Back to top
Cycling and specific health issues
Cycling can improve both physical and mental health, and can reduce the chances of experiencing many health problems.
Obesity and weight control
Cycling is a good way to control or reduce weight, as it raises your metabolic rate, builds muscle and burns body fat. If you’re trying to lose weight, cycling must be combined with a healthy eating plan. Cycling is a comfortable form of exercise and you can change the time and intensity – it can be built up slowly and varied to suit you.
Research suggests you should be burning at least 8,400 kilojoules (about 2,000 calories) a week through exercise. Steady cycling burns about 1,200 kilojoules (about 300 calories) per hour.
If you cycle twice a day, the kilojoules burnt soon add up. British research shows that a half-hour bike ride every day will burn nearly five kilograms of fat over a year.
Cardiovascular disease and cycling
Cardiovascular diseases include stroke, high blood pressure and heart attack. Regular cycling stimulates and improves your heart, lungs and circulation, reducing your risk of cardiovascular diseases.
Cycling strengthens your heart muscles, lowers resting pulse and reduces blood fat levels. Research also shows that people who cycle to work have two to three times less exposure to pollution than car commuters, so their lung function is improved. A Danish study conducted over 14 years with 30,000 people aged 20 to 93 years found that regular cycling protected people from heart disease.
Cancer and cycling
Many researchers have studied the relationship between exercise and cancer, especially colon and breast cancer. Research has shown that if you cycle, the chance of bowel cancer is reduced. Some evidence suggests that regular cycling reduces the risk of breast cancer.
Diabetes and cycling
The rate of type 2 diabetes is increasing and is a serious public health concern. Lack of physical activity is thought to be a major reason why people develop this condition. Large-scale research in Finland found that people who cycled for more than 30 minutes per day had a 40 per cent lower risk of developing diabetes.
Bone injuries, arthritis and cycling
Cycling improves strength, balance and coordination. It may also help to prevent falls and fractures. Riding a bike is an ideal form of exercise if you have osteoarthritis, because it is a low-impact exercise that places little stress on joints.
Cycling does not specifically help osteoporosis (bone-thinning disease) because it is not a weight-bearing exercise.
Mental illness and cycling
Mental health conditions such as depression, stress and anxiety can be reduced by regular bike riding. This is due to the effects of the exercise itself and because of the enjoyment that riding a bike can bring.
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/UNHavCqAEj0/hqdefault.jpg)
obesity rate 在 DJ Macky Suson Youtube 的精選貼文
Health benefits of regular cycling
Cycling is mainly an aerobic activity, which means that your heart, blood vessels and lungs all get a workout. You will breathe deeper, perspire and experience increased body temperature, which will improve your overall fitness level.
The health benefits of regular cycling include:
increased cardiovascular fitness
increased muscle strength and flexibility
improved joint mobility
decreased stress levels
improved posture and coordination
strengthened bones
decreased body fat levels
prevention or management of disease
reduced anxiety and depression.
Back to top
Cycling and specific health issues
Cycling can improve both physical and mental health, and can reduce the chances of experiencing many health problems.
Obesity and weight control
Cycling is a good way to control or reduce weight, as it raises your metabolic rate, builds muscle and burns body fat. If you’re trying to lose weight, cycling must be combined with a healthy eating plan. Cycling is a comfortable form of exercise and you can change the time and intensity – it can be built up slowly and varied to suit you.
Research suggests you should be burning at least 8,400 kilojoules (about 2,000 calories) a week through exercise. Steady cycling burns about 1,200 kilojoules (about 300 calories) per hour.
If you cycle twice a day, the kilojoules burnt soon add up. British research shows that a half-hour bike ride every day will burn nearly five kilograms of fat over a year.
Cardiovascular disease and cycling
Cardiovascular diseases include stroke, high blood pressure and heart attack. Regular cycling stimulates and improves your heart, lungs and circulation, reducing your risk of cardiovascular diseases.
Cycling strengthens your heart muscles, lowers resting pulse and reduces blood fat levels. Research also shows that people who cycle to work have two to three times less exposure to pollution than car commuters, so their lung function is improved. A Danish study conducted over 14 years with 30,000 people aged 20 to 93 years found that regular cycling protected people from heart disease.
Cancer and cycling
Many researchers have studied the relationship between exercise and cancer, especially colon and breast cancer. Research has shown that if you cycle, the chance of bowel cancer is reduced. Some evidence suggests that regular cycling reduces the risk of breast cancer.
Diabetes and cycling
The rate of type 2 diabetes is increasing and is a serious public health concern. Lack of physical activity is thought to be a major reason why people develop this condition. Large-scale research in Finland found that people who cycled for more than 30 minutes per day had a 40 per cent lower risk of developing diabetes.
Bone injuries, arthritis and cycling
Cycling improves strength, balance and coordination. It may also help to prevent falls and fractures. Riding a bike is an ideal form of exercise if you have osteoarthritis, because it is a low-impact exercise that places little stress on joints.
Cycling does not specifically help osteoporosis (bone-thinning disease) because it is not a weight-bearing exercise.
Mental illness and cycling
Mental health conditions such as depression, stress and anxiety can be reduced by regular bike riding. This is due to the effects of the exercise itself and because of the enjoyment that riding a bike can bring.
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/06iTm1R50O0/hqdefault.jpg)
obesity rate 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的精選貼文
今日は、食べても太らない人のヒミツを解明したいと思います。
なんとちょっと食べ方を変えるだけでおデブリスクが42%もダウンするんだって。
痩せる太る問題は、体質によるところも大きいので、一概にこれがいい!あれがいい!とは言えないけど、体質の違いとはあまり関係ないところのテクニックならマネしやすいですよね。
今日は、比較的簡単に変えられる食べ方と満腹感についての論文をご紹介してみます。
#ダイエット
#痩せ体質
#食べても太らない人
-----------
腸内環境を整える方法や発酵食品の活用方法など、腸や菌にまつわる情報を毎週配信中!
このチャンネルは、微生物のおかげで、おデブ・吐き気・イライラ・ネガティブから救われた元おデブのアラフォー腸活研究家である長谷川ろみが、アクティブな100歳を目指して、「菌のこと」「発酵のこと」「腸のこと」を日々研究するチャンネルです。
下記のURLより「共同研究員さん(チャンネル登録者さん)」募集中!
▼チャンネル登録はこちらから
https://www.youtube.com/channel/UCyya...
▼活動概要
・元おデブ-20kg/アラフォー
・腸活メディア「腸内革命」編集長 & 講師
・発酵ライフ推進協会 通信校 校長 & 発酵ライフプロフェッショナル
・特定非営利活動法人 日本レホルム連盟 講師 & 腸内環境アドバイザー
・東京商工会議所認定 健康経営アドバイザー
・著書「発酵菌早わかりマニュアル」
・2019/6~腸活youtuber始めました!
▼メディア
腸活WEBメディア「腸内革命」
https://www.chounaikankyou.club/
▼オンラインショップ
「腸内革命」限定ショップ
https://chokatsu.theshop.jp/
▼発酵資格通信校プロデュース
発酵ライフアンバサダー養成講座
https://hakkolife.com/page-seminar_de...
▼Twitter/Instagramもやっているのでよかったらみてみてください!
Twitter: https://twitter.com/haseromi
Instagram: https://www.instagram.com/hasegawaromi/
LINE@:bea9895u
↓お仕事の依頼は下記メールアドレスまでお願いします↓
hasegawaromi63@gmail.com
▼関連動画
食べても太らない人の【3つの秘密】
https://youtu.be/nUV3GPTL-7U
【ダイエット】ー10kg痩せて分かった"痩せ体質"に絶対必要な5つのポイント
https://youtu.be/NIu4MStxYgs
【ダイエット】痩せ体質になる方法ー体重&体脂肪も公開ー
https://youtu.be/KweHpu4MjQI
痩せ体質になる3STEP & ー12kgダイエット成功の食事のコツ
https://youtu.be/QJXV10ZqwI8
【痩せ体質を作る】骨盤矯正ストレッチ!ぽっこりお腹からスッキリお腹に!【5分】
https://youtu.be/4oYIvPe2Dqo
▼参考:研究結果&論文等
Slow eating speed may be linked to weight loss
http://blogs.bmj.com/bmjopen/2018/02/...
Effects of changes in eating speed on obesity in patients with diabetes: a secondary analysis of longitudinal health check-up data
https://bmjopen.bmj.com/content/8/1/e...
New NBU publication: Ferriday et al. "Effects of eating rate on satiety: A role for episodic memory?" in Physiology and Behavior
http://www.bristol.ac.uk/psychology/r...
※この動画は、診断・治療または医療アドバイスを提供しているわけではありません。あくまで情報提供のみを目的としています。
※診断や治療に関する医療については、医師または医療専門家に相談してください。この動画は医療専門家からのアドバイスに代わるものでもありません。
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/ZxAFKYILvRY/hqdefault.jpg?sqp=-oaymwEZCNACELwBSFXyq4qpAwsIARUAAIhCGAFwAQ==&rs=AOn4CLAmJ5FIsXC24D6iAZrclL3isp2K3Q)
obesity rate 在 List of countries by obesity rate - Wikipedia 的相關結果
Country Rank Obesity rate % (2016)
Nauru 1 61.00
Cook Islands 2 55.90
Palau 3 55.30 ... <看更多>
obesity rate 在 Obesity and overweight - WHO | World Health Organization 的相關結果
In 2016, more than 1.9 billion adults aged 18 years and older were overweight. · In 2016, 39% of adults aged 18 years and over (39% of men and 40 ... ... <看更多>
obesity rate 在 Adult Obesity Prevalence Maps - CDC 的相關結果
Obesity prevalence decreased by level of education. Adults without a high school degree or equivalent had the highest self-reported obesity (38.8%), followed by ... ... <看更多>