譚新強:今天美國培植塔利班 會否變成明天的拉登?
文章日期:2021年9月3日
【明報專訊】美國總統拜登宣稱歷史上最龐大的阿富汗「人道」空運撤退行動,終於在8月31日的死線前正式結束了,「拯救」出超過12萬人,包括約6000美國人、2萬西方盟友和10萬曾為美軍服務的阿富汗人。影像雖然有點混亂和難看,有點落荒而逃的感覺,最後仍遭據說是ISIS-K所為的恐襲,炸死13名美軍和可能多達200名的可憐阿富汗平民。美國一如既往,馬上採取報復行動,以Predator drones(捕食者無人機)轟炸一些所謂ISIS-K基地,報捷宣稱殺了幾名ISIS-K高明,但當然就輕輕略過順帶連累殺害了十多名無辜老百姓。無論如何,總算在「9.11」恐襲20周年紀念日前,完結美國歷史最長的一場戰爭。
熱哄哄的阿富汗新聞,相信即將急速冷卻下來,美國人將很快就會淡忘這個被他們蹂躪20年,殺害了數十萬甚至上百萬人的可憐國家。不少人認為美國是戰敗而逃、鎩羽而歸,花了可能超過2萬億美元,犧牲了近2500條美軍性命,仍一事無成。所謂nation building(國家建設)徹底失敗,連一條地鐵線都沒有建造過,更遑論建立什麼西式民主自由國度。最諷刺的是20年前,以反恐為名入侵阿富汗,推翻了塔利班政權,但20年後的今天,趕走美軍、奪取政權的正是捲土重來的塔利班。理論上是第二號人物(精神領袖為阿洪扎達(Hibatullah Akhundzada),但久未露面,生死未卜),但儼然是真正領袖的巴拉達爾(Abdul Ghani Baradar),正是塔利班的共同創始人之一。
但美國在阿富汗之戰,真的一敗塗地?拜登在宣布「成功」光榮撤軍時,再次重申兩個重點,首先,入侵阿富汗的唯一目的就是反恐,消減美國堅持是在阿富汗的阿蓋達基地,以防他們未來再發動類似「9.11」的恐怖襲擊。以此為標準,美國的確任務完成,在2011年找出並殺死了拉登(Osama bin Laden),雖然是在鄰國巴基斯坦而非阿富汗,但有何相干?美國人地理科一向極差,哥倫布發現新大陸,以為去了印度,至今500多年後,處理美國原住民的政府部門仍是Bureau of Indian Affairs,吹咩?最重要的是過去20年,在美國本土,確未有再出現伊斯蘭極端主義發動的大型恐襲!誰說以暴易暴無效?當然每年仍有過萬美國人死於大小規模槍殺案,但這些並非邪惡、絕不能容忍的外國恐襲,這些槍擊案只不過是自由民主的體現,簡直值得歌頌!
第二個重點,在演說中,拜登詫異地兩次提到中國,直接指出撤軍的原因之一正是必須把注意力和資源轉到與中國的戰略性競爭。他更再次重複,他認為最想美軍繼續泥足深陷阿富汗這個「帝國墳場」的就是中國和俄羅斯。
他恐嚇國民,阿富汗之戰已花了2萬億美元,如留下來,每一天都需要再花3億美元。聽起來很嚇人,但在QE當道,近乎執行MMT的現今世代,每天3億美元真的很那麼重要嗎?即使不打阿富汗,美國的每年軍事支出仍超過7000億美元(每天近20億美元),領先全球,是後面9個國家的總和。
美實質負利率 財赤佔GDP必跌
按照克魯明(Paul Krugman)的說法,即使美國無端浪費地把1萬億美元拋到海中,財赤的確增加了一點,但因為現在的名義利率遠低於通脹,實質利率是前所未見的負2.2厘以下!所以即使什麼也不做,不加稅,不減支出,10年後的財政赤字對美國GDP佔比,仍必然大幅下降,何用擔心?他當然鼓勵放心大搞基建,大幅提升社會福利,但其實即使再花數萬億Krugman不支持的戰爭,也沒所謂。但Krugman唯一沒說出來的重要前設是,利率必須維持極低水平。為何會出現奇怪的嚴重負實質利率?當然是拜QE所賜,美國財政部與聯儲局一唱一和,長期操控整條利率曲線的水平和形狀。為何全球投資者不反抗,不大舉放棄美元,亦未出現所謂超級通脹,CPI仍只約5%呢?最主要原因是美國新媒體牢牢控制着全球大部分人所接受到的資訊和思想,已逐漸接受一個重要新觀點,QE和以財赤刺激經濟,已不再是一個「kick the can down the road」,終有一天要埋單的特殊時期短暫政策,這些已成為無限期的可持續政策。超級大國與個人、家庭,甚至小國都不一樣,小國、小家庭、小人物必須平衡收入與支出,但這些小心眼「婆仔數」,不適用於超級大國!
西方勢承認塔利班政權
你可能認為這些都是不分事非黑白、指鹿為馬、妖言惑眾之說,但這是千真萬確的事實,這就是操控全球新媒體平台的威力! 讓我們做個假想實驗,阿富汗已經歷20年的美國轟炸和佔領,但如果美國繼續他們的「人道」拯救行動,你猜4000萬阿富汗人民之中,有多少個會「認賊作父」,願意接受敵人的施捨,爭相上軍機去美國?我相信答案是遠遠超過1000萬。
所以當大部分中國人,似乎仍沉迷於所謂實體經濟,仍然懵然不知在現今數據年代,打造全球互聯網新媒體平台,提升敍述故事話語權的重要性時,我要再次發聲提醒一次!
如省錢並非撤軍的最主要原因,20年死了不到2500美軍,也不太可能是那麼重要吧,真正原因是什麼?從過去幾年的蛛絲馬迹或可看出端倪。巴拉達爾在2010年,在巴基斯坦ISI特工和CIA的一次合作行動中被捕,一直被關在巴基斯坦獄中,直至2018年,奇怪地美國突然要求巴基斯坦放人。然後從2019年起,特朗普政府已開始跟塔利班展開撤軍會談,然後在2020年2月達成協議。近日雖美軍再遇恐襲,但拜登指控是ISIS-K所為,與塔利班無關,且堅持ISIS-K乃塔利班死敵。很多人已發現美國不斷維護塔利班,彷彿在說他們是正義之軍,像我早前說,看來西方包括美國都可能在可見將來承認塔利班政權(當然中國可能更快)。
美企圖培養塔利班對付中國
很多人看不過眼(尤其印度)美國對塔利班太過友善,為何撤退時,還留下價值數百億美元的武器,包括先進的空軍,大量的火箭炮和自動步槍等等?希拉里都早已承認,塔利班的前身,阿富汗的Mujahideen(聖戰分子),就是美國40年前,精心培養出來對付當年入侵的蘇聯。現在不是已經明顯不過了吧?美國正企圖培養塔利班來對付中國,一方面不止把恐怖主義輸出,另外還有輸出COVID疫情和海洛英,阿富汗就是全球九成以上的鴉片出產地,現在國家更窮,估計未來毒品產量將再翻倍。
更需小心的是被阿富汗的漩渦捲進去。最有吸引力的不是什麼銅、稀土,甚至鋰資源,而是可建一條從伊朗,經阿富汗直到中國的輸油管。中伊剛簽了4000億美元的投資協議,一部分仍必經海運到巴基斯坦的Gwadar港口,但肯定更直接的管道有極大吸引力。這條油管和其他基礎建設,也必定是非常大的恐襲目標。
最後,美國也要小心這個如意算盤。從前的拉登也是美國培訓出來的,西方傳媒甚至表揚過他在阿富汗反蘇的表現。但後來他覺得被美國出賣,結果反噬美國主子,情况跟Jason Bourne(《叛諜追擊》主角)接近。今天的巴拉達爾,美國能肯定明天不會變節嗎?
中環資產投資行政總裁
[譚新強 中環新譚]
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過19萬的網紅คุยการเงินกับที,也在其Youtube影片中提到,ผลกระทบจากนโยบายการเงินที่อเมริกาตัดสินใจกระทำ แต่คนที่ต้องจ่ายราคาคือประเทศอื่นๆ ทำไม ระบบเศรษฐกิจโลกค่าเงินอยู่ในเชิงเปรียบเทียบโดยตลอด และการแสวงห...
mmt qe 在 KIM Property Live Facebook 的最佳解答
สารพัดปัจจัยที่บ่งชี้ว่า ตอนนี้เป็นปลายวัฏจักรของสหรัฐ
เป็นอีกหนึ่งประเด็นที่ผมหยิบมาจาก The Changing World Order บทที่ 5 ตอนที่ 2 ที่ Ray Dalio ได้เล่าประวัติศาสตร์เศรษฐกิจโลกในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สหรัฐเป็นประเทศผู้นำของโลก ที่แม้จะถูกท้าทายจากอีกขั้วอำนาจหรือวิกฤตเศรษฐกิจต่าง ๆ ก็ยังผ่านพ้นมาได้
แต่ในท่อนสรุปสุดท้ายของบทนี้ Ray กลับลงความเห็นว่า เขาคิดว่าตอนนี้วงจรแห่งความรุ่งโรจน์ของสหรัฐน่าจะเดินทางมาถึงช่วงปลายแล้ว ซึ่งวันนี้คุณจะได้ทำความเข้าใจกลไกต่าง ๆ ที่ขับเคลื่อนวัฏจักรดังกล่าว เพื่อให้คุณได้พิจารณาด้วยวิจารณญาณของตัวคุณเอง
ก่อนจะไปลงรายละเอียดนั้น ผมต้องขอเล่าให้คุณเห็นภาพก่อนว่า ในสมัยที่สหรัฐยังไม่ได้ขึ้นมาเป็นเจ้าโลกนั้น ประเทศที่ครองตำแหน่งจักรวรรดิคือสหราชอาณาจักร (ที่ผมขออนุญาตเรียกว่า “อังกฤษ” เพื่อให้เข้าใจง่าย ๆ) ซึ่งอังกฤษไม่ได้เสียตำแหน่งนี้ให้กับสหรัฐในรูปแบบการแพ้สงคราม แต่เป็นรูปแบบของน้ำซึมบ่อทรายที่อังกฤษค่อย ๆ เสื่อมลงในขณะที่สหรัฐเติบโตขึ้นเรื่อย ๆ
กลไกสำคัญนั้นคือการ “ส่งออก” โดยในระหว่างสงครามโลกทั้ง 2 ครั้งนั้นยอดการส่งออกของอังกฤษลดลงสวนทางกับการส่งออกของสหรัฐที่พุ่งสูงขึ้น เพราะอย่างที่ทราบกันครับว่าเศรษฐกิจสหรัฐเติบโตอย่างมากจากการส่งออกอาวุธและเทคโนโลยีต่าง ๆ ในช่วงนั้น ขณะที่ประเทศอื่น ๆ ยากจนลงจากภาวะสงคราม ส่งผลให้สหรัฐกลายเป็นเจ้าโลกในที่สุด
แต่ในภายหลังตั้งแต่ปี 1970 นั้นสหรัฐก็กลายเป็นประเทศที่นำเข้ามากกว่าส่งออก (ขาดดุลการค้า) เนื่องจากประเทศอื่น ๆ เช่น ญี่ปุ่น เยอรมัน มีการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตให้สามารถแข่งขันกับสหรัฐได้
ปัญหามันมาหนักขึ้นหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี 1990 ที่ทำให้โลกทั้งใบเชื่อมถึงกันหรือที่เรียกว่า “โลกาภิวัตน์” ส่งผลให้โรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ หลั่งไหลไปสู่ประเทศกำลังพัฒนา เนื่องจากมีต้นทุนค่าแรงที่ต่ำกว่า
โดยเฉพาะ “จีน” ประเทศที่ตอนสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้นไม่มีใครเหลียวแลและยังเต็มไปด้วยปัญหาทางการเมือง มีการปฏิวัติกันวุ่นวาย แต่การเข้ามาของโลกาภิวัตน์นั้นถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้จีนมีความมั่นคั่งและการเติบโตของเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว
Ray ได้เปรียบเทียบเหตุการณ์ของอังกฤษ/สหรัฐเมื่อร้อยกว่าปีที่แล้วว่ามีความคล้ายกับสถานการณ์ของสหรัฐ/จีนในรอบ 30 ปีที่ผ่านมา ที่ความมั่งคั่งเคลื่อนย้ายจากประเทศหนึ่งไปสู่อีกประเทศหนึ่ง
สหรัฐกำลังประสบปัญหาหลายอย่างที่มีต้นตอมาจาก Productivity ที่ต่ำกว่าคู่แข่งทำให้การสูญเสียอำนาจในการแข่งขัน ส่งผลให้การส่งออกลดลง เมื่อการส่งออกลดลงการว่างงานก็สูงขึ้น ประชาชนจึงมีรายได้ลดลง
พอประชาชนมีรายได้ลดลง เศรษฐกิจก็ฝืดเคือง จนทำให้ธนาคารกลางต้องลดดอกเบี้ยเพื่อให้เงินเข้าสู่ระบบมากขึ้น แต่เงินเหล่านั้นกลับเข้าไปในสินทรัพย์ต่าง ๆ มากกว่าการนำไปลงทุนให้เกิดผลผลิตมากขึ้น จนในที่สุดดอกเบี้ยก็ลงมาถึง 0% ทำให้ธนาคารกลางไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากการพิมพ์เงินผ่านทั้งมาตรการ QE และทฤษฎี MMT
Ray บอกว่าเหตุการณ์นี้ก็เกิดขึ้นตอนปี 1930 ที่ตอนนั้นดอกเบี้ยก็ลงมาแตะ 0% ก่อนจะเกิดการพิมพ์เงินมหาศาล (ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2) ซึ่งถือเป็นช่วงการเปลี่ยนผ่านของวัฏจักรไปสู่ระเบียบโลกใหม่ในปี 1945
นอกจากนี้การพิมพ์เงินยังเป็นการเพิ่มปัญหาให้มากขึ้น เนื่องจากความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึงเงินที่คนรวยมีมากกว่าคนจน ทำให้ช่องว่างของความเหลื่อมล้ำยิ่งสูงขึ้นไปอีก ซึ่งในต้นฉบับนั้น Ray ได้แสดงกราฟที่ชี้ให้เห็นว่าความเหลื่อมล้ำในสหรัฐตอนนี้พุ่งสูงขึ้นมากพอ ๆ กับช่วงก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2
อีกประเด็นสำคัญคือเรื่องทุนสำรองระหว่างประเทศที่แม้ปัจจุบันสหรัฐจะยังคงเป็นประเทศที่ถือทองคำมากที่สุดในโลกก็ตาม แต่ปริมาณทองคำนั้นกลับถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับขนาดเศรษฐกิจของสหรัฐในตอนนี้
ในขณะที่จีนกลายเป็นประเทศที่มีทุนสำรองมากที่สุดในโลก และหากย้อนไปเมื่อบทความก่อนที่ผมเขียนถึง 3 ปัจจัยที่ทำให้ดอลลาร์สหรัฐแข็งแกร่งนั้นจะพบว่าทั้ง 3 ปัจจัยในได้เสื่อมถอยลงแล้วในปัจจุบัน
1. อาวุธ - นิวเคลียร์ของรัสเซียที่พัฒนาในสมัยโซเวียตนั้นไม่ได้หายไปไหนและเมื่อรวมกับนิวเคลียร์ของทางจีนแล้วก็ถือว่าเป็นปริมาณที่คานอำนาจสหรัฐได้พอสมควร
2. ทองคำที่มาก - สหรัฐไม่ได้มีทุนสำรองที่มากมายเมื่อเทียบกับขนาดเศรษฐกิจอีกต่อไป (พูดง่าย ๆ ว่าไม่ได้รวยเหมือนแต่ก่อน)
3. พันธมิตรที่ส่งเสริมการส่งออก – หลังจากที่ประเทศในยุโรปและเอเชียพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตก็ทำให้สหรัฐไม่ได้ประโยชน์เรื่องการส่งออกอีกต่อไป แต่กลับส่งผลให้สหรัฐขาดดุลมากขึ้นไปอีก
อย่างไรก็ตามสหรัฐอเมริกานั้นยังคงมีความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจอยู่มาก เนื่องจากดอลลาร์ยังคงเป็นสกุลเงินสำรอง ทำให้สหรัฐก็ไม่จำเป็นต้องมีทุนสำรองเยอะ เพราะมีอำนาจในการพิมพ์เงินออกมาเท่าไหร่ก็ได้
Ray จึงได้สรุปสถานะของสหรัฐตอนนี้ว่า สหรัฐมีอำนาจมากเพราะสามารถพิมพ์เงินของโลกได้ แต่ก็มีความเสี่ยงสูงมาก หากสูญเสียสถานะสกุลเงินสำรอง
ส่วนทางออกของสหรัฐนั้น Ray ให้ความเห็นว่ามันก็พอจะเป็นไปได้ในทางทฤษฎี แต่ในทางปฏิบัตินั้นเป็นไปได้ยากมาก เปรียบดั่งวัฏจักรของสรรพสิ่งที่จะไม่เดินย้อนกลับ
(ทางออกคือประชาชนทุกคนต้องขยันมากขึ้น ประหยัดมากขึ้น ฉลาดขึ้นพร้อม ๆ กัน)
สำหรับรายละเอียดอื่น ๆ และข้อมูลที่เป็นกราฟ เดี๋ยวจะทำเป็นคลิปสรุปให้อีกทีนะครับ บทนี้เป็นบทที่ข้อมูลแน่นและยาวมาก ๆ อาจจะใช้เวลานานหน่อย รอติดตามกันนะครับ
.
แอดปุง
แจ้งข่าว สัมมนารอบต่อไป
อสังหา 3in1 (อสังหาให้เช่า+อสังหาทางด่วน) รุ่น 10
วันที่ 9-10 มกราคม 2564
ดูรายละเอียดที่ลิงค์ในคอมเมนท์ครับ
mmt qe 在 台灣金融研訓院 Facebook 的最佳貼文
療癒風潮中,有可愛又迷人的小夥伴「角落生物」,
QE洪流中,也有你一定要認識的「突變生物」!
印鈔生物、通膨生物、超低利生物、M型生物跟MMT生物,
你認識哪幾隻呢?
---
美國聯準會的無限量化寬鬆,瞬間改變了全球經濟與金融市場的運作法則,不只是美國,歐洲央行、日本銀行、英格蘭銀行以及加拿大中央銀行等主要國家的央行,都在極短的期間內迅速擴大資產負債表,鉅額的印鈔機24小時高速運轉,也讓這五隻突變生物也在世界各地大量發生中!
想要全面探索台灣面對QE洪流的因應策略?
先來觀察大印鈔時代的五隻「#突變生物」~👉https://tabf.pse.is/UZ6H7
---
#大印鈔時代 #資產膨脹 #超低利率 #M型社會 #現代貨幣理論
#央行 #銀行家雜誌
#金編我蜥蜴粉啦>/////<
mmt qe 在 คุยการเงินกับที Youtube 的最讚貼文
ผลกระทบจากนโยบายการเงินที่อเมริกาตัดสินใจกระทำ แต่คนที่ต้องจ่ายราคาคือประเทศอื่นๆ ทำไม
ระบบเศรษฐกิจโลกค่าเงินอยู่ในเชิงเปรียบเทียบโดยตลอด และการแสวงหาผลตอบแทนขึ้นกับผลตอบแทน และความเสี่ยงเป็นสำคัญ ยิ่งในสภาวะความไม่แน่นอนความเสี่ยงสูง มุมมองเรื่องความปลอดภัยของเงินต้นกลับมาเป็นจุดที่นักลงทุนใช้ในการตัดสินใจมากกว่า และในวันนี้ประเทศอเมริกาพิมพ์เงินมหาศาลมาเป็น 10 ปีกลับทำให้ค่าเงิน USD แข็งค่าสวนทางกับตำรา
LINK
line @ T MONEY คุยกับผมทางนี้นะครับ
https://lin.ee/pE0OEWs
fb: คุยการเงินกับที
https://www.facebook.com/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E
0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0
%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B5-189662501941804/?modal=admin_todo_tour
podcast: คุยการเงินกับที
https://soundcloud.com/sorathorn-wattanamalachai
fb: กลุ่ม learn&earn ครับ
https://www.facebook.com/groups/319013512295700/