"นมวัว ไม่ได้มีฮอร์โมนเอสโทรเจนสูง" ครับ
เจอคลิปของ "โค้ช" คนนึงที่ออกมาพูดโจมตีการดื่มนมวัว โดยอ้างว่าในน้ำนมวัวมีฮอร์โมนเอสโทรเจนสูง และจะเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งและโรคอื่นๆ อีกมากมาย ... แต่จริงๆ ฮอร์โมนเอสโทรเจนในนมวัวนั้น มีอยู่น้อยมากนะครับ น้อยกว่าที่ร่างกายเราผลิตเองได้ และน้อยกว่าอาหารอื่น อย่างถั่วเหลือง อยู่เป็นแสนเป็นล้านเท่าเลย
"นมวัว ไม่ได้มีฮอร์โมนเอสโทรเจนสูง" ครับ
เจอคลิปของ "โค้ช" คนนึงที่ออกมาพูดโจมตีการดื่มนมวัว โดยอ้างว่าในน้ำนมวัวมีฮอร์โมนเอสโทรเจนสูง และจะเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งและโรคอื่นๆ อีกมากมาย ... แต่จริงๆ ฮอร์โมนเอสโทรเจนในนมวัวนั้น มีอยู่น้อยมากนะครับ น้อยกว่าที่ร่างกายเราผลิตเองได้ และน้อยกว่าอาหารอื่น อย่างถั่วเหลือง อยู่เป็นแสนเป็นล้านเท่าเลย
ในน้ำนมวัวนั้นมีเอสโทรเจน ซึ่งเป็นฮอร์โมนกลุ่มเสตียรอยด์ที่ผลิตมาจากแม่วัว ไม่ต่างอะไรกับในน้ำนมคนหรือของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นๆ
แต่ปริมาณของฮอร์โมนกลุ่มเสตียรอยด์ทั้งหมดที่อยู่ในนม หรือผลิตภัณฑ์อาหารจากนมนั้น มีอยู่น้อยกว่าปริมาณที่ร่างกายของคนเราผลิตขึ้นเองตามธรรมชาติ อยู่เป็นแสนเป็นล้านเท่า
ตัวอย่างเช่น เนยที่มีปริมาณไขมัน 80 เปอร์เซนต์ จะมีเอสโทรเจนอยู่เพียงแค่ 1.9 นาโนกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริโภค / น้ำนมหนึ่งแก้ว (8 ออนซ์ หรือ 236 มิลลิลิตร) มีเอสโทรเจนอยู่เพียง 2.2 นาโนกรัม ยิ่งถ้าเป็นนมพร่องมันเนยหนึ่งแก้ว มีเอสโทรเจนเหลือเพียง 0.8 นาโนกรัมเท่านั้น ... ขณะที่ร่างกายของคนเรา ทั้งหญิงและชาย จะผลิตเอสโทรเจนได้อยู่ในระดับตั้งแต่ 54,000 นาโนกรัมจนถึง 630,000 นาโนกรัมในแต่ละวัน (ข้อมูลจาก https://www.bestfoodfacts.org/is-there-estrogen-in-milk/)
ยิ่งถ้าดูจากภาพประกอบ (http://www.dairymoos.com/are-there-hormones-in-milk/) จะยิ่งเห็นชัดเลยว่า ไม่น่าจะต้องกังวลแต่อย่างไรถึงปริมาณของเอสโทรเจนที่เราจะได้รับจากการดื่มนม เมื่อเทียบกับที่ร่างกายผลิตขึ้น ไม่ว่าจะในเด็ก ผู้หญิง หรือผู้ชาย ... อาหารอย่างอื่น เช่น ถั่วเหลือง เต้าหู้ ยังจะมีเอสโทรเจนสูงกว่าในน้ำนมวัว มหาศาล
ส่วนเรื่องที่ว่า "ดื่มนม จะทำให้เป็นโรคมะเร็ง" นั้น ขอยกเนื้อหาที่เคยโพสต์ไว้ (https://www.facebook.com/OhISeebyAjarnJe…/…/400496943766698…) มาให้อ่านครับ ว่ามีงานวิจัยอะไรเกี่ยวกับเรื่องนี้บ้าง .. ซึ่งสรุปสั้นๆ ว่า งานวิจัยส่วนใหญ่ไม่พบหลักฐานยืนยันว่าการดื่มนมในปริมาณปรกติจะทำให้เกิดมะเร็งขึ้น ครับ
-----------------
ประเด็นใหญ่เลย "การดื่มนมทำให้เป็นโรคมะเร็ง" จริงเหรอ .. หรือมันช่วยป้องกันมะเร็ง
นับเป็นประเด็นที่คนสับสนกันมากเวลาอ่านข่าวทางด้านการแพทย์ เพราะจะมีข่าวทำนองว่า มีงานวิจัยใหม่บอกว่าการดื่มนมมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดมะเร็ง ขณะที่ก็มีข่าวเช่นกันว่า พบว่าการดื่มนมช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งได้ เอาไงกันแน่
เรื่องนึงที่เราควรจะเรียนรู้กันก่อน คือว่า งานวิจัยเกี่ยวกับ "ความเชื่อมโยงระหว่างอาหารกับโรค" ทำนองนี้มันมีข้อจำกัดอยู่นะ เพราะมันเป็นการวิจัยเชิง "สำรวจ" โดยเอาสถิติไปประเมินว่าอาหารที่กินเข้าไปนั้นมีความสัมพันธ์ทางสถิติกับ "ความเสี่ยงที่จะเกิดโรค" แค่ไหน แต่ไม่ได้จะเป็นการพิสูจน์ใดๆ เลยว่าอาหารนั้นเป็น "สาเหตุ" ก่อให้เกิดโรค ... บ่อยครั้ง ที่งานวิจัยเชิงสำรวจแบบนั้น พบว่าผิดพลาด เมื่อนำไปทำการทดลองจริงทางการแพทย์
พวกงานวิจัยเกี่ยวกับนมและมะเร็งนั้น พบว่าแทบทั้งนั้นที่เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ มันจึงไม่ได้เป็นตัวพิสูจน์แต่อย่างไรว่า นมหรือผลิตภัณฑ์นมจะก่อให้เกิดโรค เพียงแค่บอกว่ามันมีความเชื่อมโยงกัน (ซึ่งสาเหตุของโรค อาจจะเป็นอย่างอื่น ที่บังเอิญไปเชื่อมโยงกับนิสัยการนิยมดื่มนม ก็เป็นได้)
เรามาลองดูงานวิจัยกันไปทีละชนิดของโรคมะเร็งแล้วกัน (ข้อมูลจาก https://www.healthline.com/nutrition/dairy-and-cancer…)
5.1 มะเร็งลำไส้ Colorectal Cancer
ผลการศึกษาวิจัยนั้น พบว่าส่วนใหญ่แล้ว จะเอียงไปในทางที่่ว่าผลิตภัณฑ์จากนมนั้นช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งลำไส้ได้ (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/21617020 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19116875 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19116875 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/15240785 ) โดยองค์ประกอบบางอย่างในนมนั้น ที่น่าจะมีส่วนช่วยในการป้องกันมะเร็ง ได้แก่ แคลเซี่ยม วิตามินดี และแบคทีเรียที่ให้กรดแล็กติก ถ้าเป็นพวกนมเปรี้ยวและโยเกิร์ต
5.2 มะเร็งต่อมลูกหมาก Prostate Cancer
งานวิจัยส่วนใหญ่ ระบุว่าการดื่มนมเป็นปริมาณมากๆ ในแต่ละวันนั้น จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งต่อมลูกหมาก ( https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25527754 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/16333032 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/15203374 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/22190107) ที่เป็นเช่นนั้น อาจจะเป็นเพราะว่านมมีสารประกอบทางชีวภาพอยู่มากมายหลายชนิด บางชนิดช่วยป้องกันมะเร็ง แต่บางชนิดก็อาจให้ผลตรงกันข้าม เช่น สาร Insulin-like growth factor 1 (IGF-1) ฮอร์โมน Estrogen
5.3 มะเร็งกระเพาะอาหาร Stomach Cancer
งานวิจัยส่วนใหญ่ ไม่พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจน ระหว่างนมที่ดื่มเข้าไปกับการเกิดมะเร็งกระเพาะ (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25006674 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25923921 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25400475 ) ในน้ำนม มีทั้งสารที่ช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งกระเพาะได้ เช่น สาร conjugated linoleic acid (CLA) และเชื้อแบคทีเรียโปรไบโอติก ในนมเปรี้ยวและโยเกิร์ต แต่ก็มีสาร IGF-1 ที่อาจกระตุ้นให้เกิดมะเร็งกระเพาะได้
5.4 มะเร็งเต้านม Breast Cancer
โดยรวมแล้ว งานวิจัยบอกว่าผลิตภัณฑ์นมไม่ได้ส่งผลกระทบอะไรกับการเกิดโรคมะเร็งเต้านม (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/15213021 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/11914299 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/24330083 ) และงานวิจัยบางงานก็บอกว่า ผลิตภัณฑ์จากนมนั้นช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านมอีกด้วย ( https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/21442197 )
แล้วอย่างนี้เราควรจะดื่มนมได้มากแค่ไหนถึงจะปลอดภัย ... คำแนะนำคือ ควรจะดื่มทุกวัน แต่ไม่ควรจะเกินวันละ 2 แก้ว (ซึ่งถ้าเกินกว่านี้ จะเป็นระดับที่เพิ่มความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก)
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過16萬的網紅夠維根Go Vegan,也在其Youtube影片中提到,這是個常見的迷思,不只一般的民眾會搞混 連專業的醫療人員都不太清楚... FB粉絲專頁:https://www.facebook.com/GoVeganTW 提倡一種新的生活態度,透過動畫宣導"動物權利"! 特別感謝"台灣素食營養學會"贊助 臺灣素食營養學會官網:http://www.twvns...
estrogen breast cancer 在 DR. SIMON MSH Facebook 的最佳貼文
From 8 times Best Doctor Awarded in USA Dr David Heber @drdavidheber -
BREAST CANCER AWARENESS #2: SOY IS NOT AN ESTROGEN- The false notion that Soy protein acts like an estrogen is simply not true. First, there is no estrogen in soy as you can see on the slide. Soy isoflavones are healthy antioxidant phytonutrients. In test tube studies with breast cancer cells they act like anti-estrogens in the presence of estrogen you would find in the blood of any man or woman at any age. Women and men produce estrogens from body fat, so too much body fat leads to love handles and man boobs. However, in studies from my lab and others, it is clear that many phytonutrients including soy isoflavones bind very weakly (1/1000th as well as estrogen) to an estrogen receptor protein involved in estrogen’s effects in cells only when there is no estrogen around. You can create these conditions in a mouse by removing the ovaries and these experiments created a lot of confusion for women with regard to breast cancer and for male athletes afraid of growing male breast tissue. Overweight and obesity as well as testosterone which can be converted to estrogen causes breast enlargement in men. Soy is the highest quality protein in the plant world and is a vital tool in fighting the global epidemic of obesity. It is widely available and 2/3 of the world’s population is lactose-intolerant and cannot cow’s milk or dairy products. Combinations of other proteins like quinoa, pea protein, and flaxseed among others can imitate the quality of soy but at greater cost. Women concerned about breast cancer have no reason to avoid soy, but many doctors don’t know this. These days, perception is reality. So if you want to avoid soy, you have other choices, but forget about soy being an estrogen!! Next time
estrogen breast cancer 在 DR. SIMON MSH Facebook 的最佳貼文
estrogen breast cancer 在 夠維根Go Vegan Youtube 的精選貼文
這是個常見的迷思,不只一般的民眾會搞混
連專業的醫療人員都不太清楚...
FB粉絲專頁:https://www.facebook.com/GoVeganTW
提倡一種新的生活態度,透過動畫宣導"動物權利"!
特別感謝"台灣素食營養學會"贊助
臺灣素食營養學會官網:http://www.twvns.org/
--------------------------------------------------------------------------------
【參考資料】
不吃肉蛋白質夠嗎?http://www.twvns.org/info/faq/25-2008-08-20-03-38-47
顛覆你的觀念!你真的知道怎麼吃蛋白質?: www.twvns.org/info/faq/266-2015-06-17-09-32-20
告訴你~痛風要吃黃豆的理由: www.twvns.org/info/faq/213-2015-04-17-07-41-12
乳癌不能吃黃豆? https://youtu.be/ie3pVBvnIEM
1. 每日蛋白質需求量:
http://www.nationalacademies.org/hmd/~/media/Files/Activity%20Files/Nutrition/DRIs/DRI_Macronutrients.pdf
2. 豆類的優點(預防疾病、營養素):
Messina V. Nutritional and health benefits of dried beans. Am J Clin Nutr. 2014 Jul;100 Suppl 1:437S-42S. doi: 10.3945/ajcn.113.071472. Epub 2014 May 28.
3. 痛風可以吃豆類:
Teng GG, Pan A, Yuan JM, Koh WP. Food Sources of Protein and Risk of Incident Gout in the Singapore Chinese Health Study. Arthritis Rheumatol. 2015 Jul;67(7):1933-42. doi: 10.1002/art.39115.
4. 美國痛風研究:
Choi HK, Atkinson K, Karlson EW, Willett W, Curhan G. Purine-rich foods, dairy and protein intake, and the risk of gout in men. N Engl J Med. 2004 Mar 11;350(11):1093-103.
Messina M, Messina VL, Chan P. Soyfoods, hyperuricemia and gout: a review of the epidemiologic and clinical data. Asia Pac J Clin Nutr. 2011;20(3):347-58.Review.
5. 日本痛風研究:
Yamakita J, Yamamoto T, Moriwaki Y, Takahashi S, Tsutsumi Z, Higashino K. Effect of Tofu (bean curd) ingestion and on uric acid metabolism in healthy and gouty subjects. Adv Exp Med Biol. 1998;431:839-42.
6. 乳癌研究:
Caan BJ, Natarajan L, Parker B et al. (2011) Soy food consumption and breast cancer prognosis. Cancer epidemiology, biomarkers & prevention : a publication of the American Association for Cancer Research, cosponsored by the American Society of Preventive Oncology 20, 854-858.
Doyle C, Kushi LH, Byers T et al. (2006) Nutrition and physical activity during and after cancer treatment: an American Cancer Society guide for informed choices. CA: a cancer journal for clinicians 56, 323-353.
Guha N, Kwan ML, Quesenberry CP, Jr. et al. (2009) Soy isoflavones and risk of cancer recurrence in a cohort of breast cancer survivors: the Life After Cancer Epidemiology study. Breast cancer research and treatment 118, 395-405.
Hsieh CY, Santell RC, Haslam SZ et al. (1998) Estrogenic effects of genistein on the growth of estrogen receptor-positive human breast cancer (MCF-7) cells in vitro and in vivo. Cancer research 58, 3833-3838.
Rock CL, Doyle C, Demark-Wahnefried W et al. (2012) Nutrition and physical activity guidelines for cancer survivors. CA: a cancer journal for clinicians 62, 243-274.
Setchell KD, Brown NM, Zhao X et al. (2011) Soy isoflavone phase II metabolism differs between rodents and humans: implications for the effect on breast cancer risk. The American journal of clinical nutrition 94, 1284-1294.
Shu XO, Zheng Y, Cai H et al. (2009) Soy food intake and breast cancer survival. Jama 302, 2437-2443.
7.吃素節能減碳:
Ruini LF, Ciati R, Pratesi CA, Marino M, Principato L, Vannuzzi E. Working toward Healthy and Sustainable Diets: The "Double Pyramid Model" Developed by the Barilla Center for Food and Nutrition to Raise Awareness about the Environmental and Nutritional Impact of Foods. Front Nutr. 2015 May 4;29.