◼︎ 香氛原料-關於麝香
學習之路永遠不會停止~~
麝香這一詞幾乎與香水劃上等號,它可能是某人身上的氣味,也可能是某個動物的代表,不論什麼品牌,不僅是香水,香皂,洗髮精,化妝品,甚至清潔劑裡都可能有麝香的存在,麝香只是各種類似原料的概括名稱,仔細分類下來可還是有很大的學問。
➡️ 天然麝香
最早的天然麝香來自麝香鹿,它的性腺分泌氣味來吸引雌鹿與設置領域,在歐洲歷史的記載,麝香具有催情、神性的代表,早期為了要獲取天然麝香,往往需要透過獵殺的方式十分殘忍,一公斤的麝香大約需要30~50隻麝香鹿,近年有些人開始圈養這類動物,以現代技術不傷害動物生命前提取得麝香,但現在成本還是相當高的,況且,小編之前在學校聞過天然麝香的味道,相信我,真的比廁所的尿味加10倍,它是需要稀釋成0.1%甚至更低才會讓人感到氣味美好。
植物系中也有類似麝香的氣味,其中黃葵籽(Ambrette seed)的氣味是小編最喜歡的,但是想使用它的大前提就是口袋要夠深,小編曾買過10ml近7張小朋友,現在跟著桂花原精一起鎖在櫃子裡當寶貝。
➡️ 人工合成麝香
瀕臨絕種野生動植物種國際貿易公約(Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora, CITES 也稱華盛頓公約)在1979年將麝香鹿列入受保護物種,因此現在市面上看到的麝香幾乎都是人工合成麝香,這也是說,如果今天你在一瓶號稱「天然」香水的成分中看到麝香二個字,您覺得它真的是全成分天然嗎?不妨思考看看。
——————————
人工合成麝香分類
——————————
|硝基麝香(Aromatic nitro musks):由於部分具有致敏性,因此絕大部分已經不再使用,目前還能見到的是麝香酮(Musk Ketone)、黃葵麝香(Musk Ambrette)、二甲苯麝香(Musk xylol)
|多環麝香(polycyclic musk compounds):就是在化學結構中具有多個環型結構的麝香,我們最熟悉就是IFF公司的佳樂麝香(Galaxolide),便宜又好用,非常多的香水都可以找到它的影子,另一支吐納麝香(Tonalide)雖然單價較高,但是它的氣味比較濃郁也受到調香師的喜愛,不過這二支100% 原料都很難搞,一個濃稠到很難分裝,一個是塊狀難以溶解,果然好味道也需要付出代價。
|大環麝香(macrocyclic musk compounds);它的化合物結構是單環結構有10~15個碳原子,氣味最接近麝香酮,對環境的影響最小,但價格也比其他麝香高,麝香T(Ethylene brassylate)、黄葵内酯(Ambrettolide)、環十五烷內酯(Exaltolide)都是目前調香師常用的麝香原料,但有趣的是有些人聞不到它們的味道,建議可以稀釋成1%後再聞看看或許就會找到它們。芬美意(Firmenich)生產的 麝香烯酮(Muscenone)非常接近硝基麝香的氣味,現在已經大量取代麝香酮的使用。
|脂環麝香(Alicyclic musks):麝香家族的新成員,分子結構以烷基酯為主,有趣的是這類麝香具有一點果香,因此很常應用於果香調中,小編有一支格蓬酯(Allyl Amyl Glycolate),一開始也聞不到它的味道,直到稀釋後才聞到那種刺鼻尖銳的水果香,最初實在很難把它與麝香分類在一起,所以它分類在的果香中,但它真的是麝香家族;開司米酮(Cashmeran)有人分類在多環麝香,但也有人反對,因為它的結構比較複雜,但又不符合國際香料協會(IFRA)多環麝香的分類標準,它有麝香的氣味特質,但又綜合了果香、木質、樹脂等氣味。
不同的麝香氣味都不是一樣的,常常有學生問我為什麼不是「白麝香」的味道?不得不承認Body shop的產品實在賣的太好了,讓大家對麝香氣味產生既定印象,就算來上體驗課也會問為什麼調不出白麝香的感覺?這個真的是很大的錯誤,「白麝香」是一支產品,它裡面大概有4~5種麝香的組成,而且佔比非常的高,我們的體驗課程只用到其中之一的佳樂麝香,當然沒辦法滿足。
原料的認識一直是調香學習課程中最大的困難,這幾支麝香如果沒有同時放在面前一一比較真的很難記憶與區別,疫情期間或許也是一個自我訓練的機會,也希望每個人都能健康平安。
———————————
#專業調香師養成班
#高階班
#單體原料
#企業氣味設計
#客製化氣味設計
「convention on international trade in endangered species of wild fauna and flora」的推薦目錄:
- 關於convention on international trade in endangered species of wild fauna and flora 在 研妍堂 芳療香氛 Facebook 的最佳貼文
- 關於convention on international trade in endangered species of wild fauna and flora 在 Forjune Kanokkarn ฟอร์จูน กนกกาญจน์ Facebook 的最佳貼文
- 關於convention on international trade in endangered species of wild fauna and flora 在 外交部 Ministry of Foreign Affairs, ROC(Taiwan) Facebook 的最佳貼文
convention on international trade in endangered species of wild fauna and flora 在 Forjune Kanokkarn ฟอร์จูน กนกกาญจน์ Facebook 的最佳貼文
วันนี้ อยากขอแรงจากทุกคนนะคะ.. ถ้าคิดว่าเค้าทำสิ่งที่ไม่ถูกต้องในการที่จะแก้กฎหมายให้ส่งออกช้างบ้านเราไปใช้แรงงานที่ต่างประเทศ “ขอให้ช่วยไปคอมเม้น#คัดค้านการส่งออกช้างและแสดงความคิดเห็นที่หน้า FB ของกรมการค้าต่างประเทศด้วยค่ะ” ทุกเสียงของพวกเรา สามารถ”หยุด “ เรื่องนี้ได้.. ขอบคุณทุกคนนะคะ..
คต. ปลดล็อคส่งออกช้าง
------------------------------------
กรมการค้าต่างประเทศออกระเบียบกำหนด หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข ในการอนุญาตส่งออกช้างและผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากส่วนต่างๆ ของช้าง เพื่อให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงพาณิชย์ ที่กำหนดให้ช้างเป็นสินค้าที่ต้องขออนุญาตส่งออก ก่อนร่าง พ.ร.บ. ช้าง พ.ศ. .... แล้วเสร็จ คาดไทยสามารถส่งออกช้างได้กลางปี 62
.
นายอดุลย์ โชตินิสากรณ์ อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ เปิดเผยว่า เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2562 กระทรวงพาณิชย์ได้ออกระเบียบกระทรวงพาณิชย์ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการอนุญาตให้ส่งช้างออกไปนอกราชอาณาจักร พ.ศ. 2562 โดยช้างที่ส่งออกได้ต้องเป็นช้างที่จดทะเบียนทำตั๋วรูปพรรณแล้วเท่านั้น และอนุญาตให้ส่งออกช้างได้ 3 กรณี คือ 1) การส่งช้างเพื่อการศึกษาวิจัย 2) การส่งช้างเพื่อสัมพันธไมตรี และ 3) การส่งส่วนต่างๆ หรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ได้มาจากช้างเพื่อศึกษาวิจัยทางวิชาการหรือเพื่อเป็นโบราณวัตถุ/ศิลปวัตถุ ซึ่งระเบียบกระทรวงพาณิชย์ดังกล่าวจะบังคับใช้ จนกว่าร่าง พ.ร.บ.ช้าง พ.ศ. .... ของกรมปศุสัตว์จะแล้วเสร็จและมีผลบังคับใช้ หลังจากนี้ กระทรวงพาณิชย์จะได้มอบอำนาจให้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เป็นผู้พิจารณาออกใบอนุญาตส่งออกต่อไป โดยคาดว่าจะสามารถส่งออกช้างได้กลางปี 2562
.
อย่างไรก็ตาม การส่งออกช้างเป็นประเด็นอ่อนไหว เป็นที่สนใจของประชาชนและนักอนุรักษ์ จำเป็นต้องสร้างความเข้าใจกับทุกภาคส่วน ดังนั้น ระเบียบกระทรวงพาณิชย์ฯ ฉบับนี้ กรมการค้าต่างประเทศและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันพิจารณาอย่างละเอียด รอบคอบ และรัดกุม เพื่อรับประกันว่าช้างไทยต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี และได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดจากผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับช้างโดยเฉพาะ ตามมาตรฐานสมาคมสวนสัตว์และสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำโลก (World Association for Zoos and Aquariums : WAZA) และอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora : CITES)
.
ที่ผ่านมาประเทศไทยไม่อนุญาตให้ส่งช้างออกไปนอกราชอาณาจักรมาเป็นระยะเวลาเกือบ 10 ปี ตั้งแต่ปี 2552 เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายไม่อนุญาตให้ส่งออกช้าง จนกว่าจะขึ้นทะเบียนช้างบ้านทั่วประเทศให้แล้วเสร็จ เพื่อป้องกันการนำช้างป่ามาสวมสิทธิเป็นช้างบ้านแล้วส่งออกไปต่างประเทศ
.
“กรมการค้าต่างประเทศตระหนักเป็นอย่างดีว่า ช้างเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญและเป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมืองของไทยมาช้านาน การออกกฎหมายเกี่ยวกับการส่งช้างมีชีวิตไปต่างประเทศเป็นประเด็นที่ต้องมีการพิจารณาอย่างถี่ถ้วน โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ของประเทศไทยเป็นสำคัญ เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับคนไทยได้ว่าต่างประเทศและผู้เกี่ยวข้องสามารถดูแลสวัสดิภาพช้างเพื่อการศึกษาวิจัยและช้างทูตสัมพันธไมตรีของไทยได้เป็นอย่างดี” นายอดุลย์กล่าว
.
ทั้งนี้ ผู้สนใจสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่กองบริหารการค้าสินค้าทั่วไป โทร 02-547-5119 หรือสายด่วนกรมการค้าต่างประเทศ 1385 และเว็บไซต์กรมการค้าต่างประเทศ www.dft.go.th
convention on international trade in endangered species of wild fauna and flora 在 外交部 Ministry of Foreign Affairs, ROC(Taiwan) Facebook 的最佳貼文
【🌎國際環境公約小語 - 華盛頓公約】
Ready to learn about CITES, or the Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora? Drafted and signed by members of the International Union for Conservation of Nature in 1975, CITES aims to ensure that trade does not threaten the survival of species in the wild 🐺. As a responsible member of the global community, Taiwan is honoring such agreements and advancing environmental protection.
想要養灰鸚鵡或鈷藍日守宮當寵物嗎?要小心可能會違反華盛頓公約唷🤨!小編在此鄭重宣布,國際環境公約小語第2彈─「華盛頓公約」隆重登場~🥁
華盛頓公約,正式名稱為「瀕臨絕種野生動植物國際貿易公約」(CITES),由「國際自然與天然資源保育聯盟」各會員國政府在美國華盛頓起草及簽署,並於1975年生效👨⚖️👩⚖️。目前CITES管制了大約5,000種的動物與28,000種的植物,並分為3個等級來規範,以達到物種貿易永續發展的目標。
臺灣雖然還沒有加入華盛頓公約,但自發性公布了更新管制清單、修正國內法規,並由國際貿易局核發輸出入許可證✅,展現了我國對國際生態保育的重視... 小編覺得,John就是愛地球~ 💖
#那GeorgeAndMary呢🤷♂️🤷♀️
#外粉應該都知道華盛頓砍倒櫻桃樹🍒
#那你知道非洲櫻桃木是華盛頓公約的管制物種嗎😏
#想進口來做傢俱是需要申請輸入許可證的唷